วิเคราะห์ผลกรรมที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์นรก ในวรรณกรรมกลอนสวดเรื่องพระมาลัยฉบับเพชรบุรี

Main Article Content

Natawut Klaisuwan
kornkamon thanarotrungrueang

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์สาเหตุแห่งการเกิดเป็นสัตว์นรกตามที่ปรากฏในวรรณกรรมกลอนสวดเรื่องพระมาลัยฉบับเพชรบุรีว่ามีสาเหตุมาจากผลกรรมใด ผลจากการศึกษาพบว่านรกเป็นสถานที่สำหรับลงโทษสัตว์นรก             หรือผู้กระทำบาปหนักเมื่อครั้งยังมีชีวตอยู่บนโลกมนุษย์ ทั้งนี้สาเหตุแห่งการเกิดเป็นสัตว์นรกที่ปรากฏในวรรณกรรมกลอนสวดเรื่องพระมาลัยฉบับเพชรบุรีมีอยู่ด้วยกัน 8 ประการ คือ 1. โลภ เบียดเบียน ข่มเหง รังแกผู้อื่น 2. เบียดเบียนพระสงฆ์ แม่ชีให้ได้รับความเดือดร้อน 3. ด่าตี พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย พระสงฆ์ สามเณร 4. ตัดสินความไม่ยุติธรรม 5. เป็นชู้กับเมียผู้อื่น 6. หญิงมักมาก               ในกามคุณ ทำเสน่ห์ยาแฝด 7. เป็นผู้ใหญ่ข่มเหงผู้น้อย และ 8. ดื่มสุรา


 


 


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

นงเยาว์ ชาญณรงค์. วัฒนธรรมและศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2553.

สนิท ตั้งทวี. วรรณคดีและวรรณกรรมพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์; 2527.

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์;

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์ และทวี ผลสมภพ. หลักพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2550.

น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม. วรรณคดีสุโขทัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2549.

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. อิทธิพลวรรณกรรมต่างประเทศที่มีต่อวรรณกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย

รามคำแหง; 2559.

ลักษณวัต ปาละรัตน์. พระพุทธศาสนาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2560.

พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). กรรมและนรกสวรรค์สำหรับคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม; 2538.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท นานมีบุ๊คส์

พับลิเคชั่นส์ จำกัด; 2556.

จันทร์ศิริ แท่นมณี, ผู้ปริวรรต. พระมาลัยกลอนสวดฉบับเพชรบุรี. เพชรบุรี: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูเพชรบุรี; 2534.

อุดมพร คัมภิรานนท์. การศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในเรื่องพระมาลัยคำหลวง. [วิทยานิพนธ์

ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย; 2551.