การเรียนรู้ผู้ประกอบการภายใต้การระบาดโควิด-19 การเรียนรู้ผู้ประกอบการภายใต้การระบาดโควิด-19

Main Article Content

ไพโรจน์ ปิยะวงศ์วัฒนา
ณัฐธัญ พงษ์พานิช

บทคัดย่อ

งานวิจัยต้องการศึกษาถึงพฤติกรรมการปรับตัวของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมแบบพลิกผัน โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษาระดับการเรียนรู้ของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็ก 2) ศึกษาความแตกต่างของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กในการเรียนรู้เชิงประชากรศาสตร์ 3) ค้นหาพฤติกรรมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กที่ประสบความสำเร็จ การวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามส่งให้กับผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 753 คน ได้รับการตอบกลับจำนวน 300 คน คิดเป็นอัตราการตอบกลับร้อยละ 39.84 แบบสอบถามได้ผ่านการตอบสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของเนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความผันแปรทางเดียว และการวิเคราะห์เฉพาะกรณี ผลการวิจัยพบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กมีพฤติกรรมการปรับตัวในระดับสูง อายุ การศึกษา และรายได้
ต่างกันมีพฤติกรรมการปรับตัวต่างกัน และนำพฤติกรรมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กที่ประสบความสำเร็จมากำหนดเป็นหลักการ OICR Pattern

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

WHO Health Emergency Dashboard. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2564]

เข้าถึงได้จากhttps://covid19.who.int/region/searo/country/th

McKinsey & Company. COVID-19: Briefing Materials, Global Health and Crisis Response. [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 กรกฏาคม 2563] เข้าถึงได้จาก https://mekinsy.com

MSME White Paper 2021. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2564] เข้าถึงได้จากhttps://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20200702144033.pdf

สำนักงานคลังจังหวัดเพชรบุรี. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2564] เข้าถึงได้จากhttps://www.opsmoac.go.th/phetchaburi-dwl-files-421091791367

วีระ อำพันสุข. เมืองเพชร. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย; 2553.

ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็ก. (15-28 กุมภาพันธ์ 2564). อำเภอเมืองเพชรบุรี. สัมภาษณ์

สำนักงานจังหวัดเพชรบุรี. รายงานการประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจจังหวัดเพชรบุรี. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564] เข้าถึงได้จาก https://www.petchaburi.go.th

Block J H. Kohn K, Miller D & Ullrich K. Necessity entrepreneurship and competitive strategy. Small Business Economics 2015; 44(1): 37-54.

Scarborough, N M. & Zimmerer, T W. Effective small business management: an entrepreneurial approach. Prentic-Hall; 2006.

Vera, D. & Crossan, M. Strategic leadership and organizational learning. Academy of Management Review 2004; 29: 222-240.

Spanjer, S. & Witteloostuijn, A.V. The entrepreneur's experiential diversity and entrepreneurial performance. Small Business Economics 2017; 49(1): 141-161.

Khosla, A. & Gupta, P. Traits of Successful Entrepreneurs. The Journal of Private Equity 2017; 20(3): 12-15.

Yamakawa, Y. & Cardon, M.S. Causal ascriptions and perceived learning from entrepreneurial failure. Small Business Economics 2015; 44(4): 797-820.

Piyawongwathana, P.& Onkvisit, S. Corporate parenting advantage: Conceptual, methodological, and empirical considerations. Journal of Global Business Insights 2021; 6(1) : 26-38.

สำนักสถิติแห่งชาติ. สํามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555. สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2555.

Zikmund, W G., Babain B J., Carr, J C. & Griffin, M. Business Research Method (eighth edition). South-Western; 2010.

Wick, C.W. & Leon, L.S. The Learning Edge: How Smart Managers and Smart Companies Stay Ahead. United States of America: McGraw-Hill; 1993.

Byrne, J., Delmar, F., Fayolle J. & Lamine, W. Training corporate entrepreneurs: an action learning approach. Small Business Economics 2016; 47(2): 479-506.

Marquardt, M. J. Building the Learning Organization: A System Approach to. Quantum Improvement and Global Success. McGraw-Hill; 1996.

Knowles, M. S. Self-directed learning: A guide for learners and teachers. Prentice-Hall; 1975.

Kim, D.H. The link between individual and organizational learning. Sloan Management Review 1993; 35(1): 37-50.