ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • อัจฉราพรรณ ตั้งจาตุรโสภณ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

DOI:

https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.267698

คำสำคัญ:

การยอมรับเทคโนโลยี, ความตั้งใจซื้อ, รถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ที่มีความสนใจหรือมีความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ จำนวน 384 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด มีอายุในช่วง 25-34 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 15,001-25,000 บาท และมีอาชีพเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ความสําคัญกับปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีและมีระดับความคิดเห็นในความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ โดยรวมอยู่ระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 68.80 โดยแสดงในรูปคะแนนมาตรฐาน Y = 0.296 + 0.484 x6 (การนำมาใช้จริง) + 0.184 x5 (ความตั้งใจที่จะใช้) + 0.124 x1 (การรับรู้ถึงประโยชน์)

References

กัญจน์นิกข์ กำเนิดเพ็ชร์. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 13(3), 82-95.

กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณรงค์ ศรีขวัญเจริญ, เอกชัย ศิริกิจพาณิชย์กูล และสโรช บุญศิริพันธ์. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้รถยนต์ไฟฟ้า. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57, วันที่ 29 มค-1 กพ. 2562, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน, หน้า 441-447.

ตฤณวรรษ ปานสอน และเกษม ชูจารุกุล. (2562). พฤติกรรมการยอมรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร. วารสารการขนส่งและโลจิสติกส์, 12(1), 68-87.

ทิฆัมพร ทวีเดช และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2563). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ของผู้ที่อาศัยในจังหวัดปราจีนบุรีด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแลลขั้นตอน. วารสารสารสนเทศ, 19(1), 57-70.

นิสสัน. (2561). ผลสำรวจพบผู้บริโภคร้อยละ 44 พิจารณารถยนต์พลังงานไฟฟ้าเป็นรถยนต์คันต่อไป. สืบค้นจาก http://www.nissan.co.th/news/purchase-decision-research.html.

บางกอก มีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำกัด. (2565). ยอดขายรถอีวีปี 65 แซงรถปลั๊กอินไฮบริด. สืบค้นจาก http://www.pptvhd36.com/automotive/news/188631.

พิทยุตม์ โตขำ, วิไลพรรณ ตาริชกุล และเมธาวี อนิวรรตนพงศ์. (2565). อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบเตอรี่ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 5(1), 53-72.

แพนด้า สตาร์ ออยล์ จำกัด. (2566). 4 ประเภทรถยนต์ไฟฟ้าที่คุณควรรู้จัก. สืบค้นจาก https://www.pandastaroil.co.th/blogs/4.

มาเก็ตเทีย ออนไลน์. (2566). มค.-ตค.65 ไทยจดทะเบียนรถยนต์ EV แซง 10 ปีก่อนหน้ารวมกัน. สืบค้นจาก https://marketeeronline.co/archives/290796.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2560). รายงานการศึกษา เรื่อง “อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า”. ฝ่ายวิจัยนโยบายสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ: สวทช. เผยแพร่ ณ กันยายน 2560.

สถาบันยานยนต์. (2564). ความรู้ยานยนต์ไฟฟ้าเบื้องต้น. สืบค้นจาก http://www.thaiauto.or.th/2012.

ออโต้ สปิน. (2566). ตัวเลขจดทะเบียนรถยนต์ไฟฟ้า BEV ทั้งปี 2565 เพิ่มสูง 274.64%. สืบค้นจาก https://www.autospinn.com/2023/01/electric-vehicle-registration-2022-2023-93502.

เอ็ม จี อาร ออนไลน์. (2566). จำนวนราษฎรแตะระดับ 66 ล้านคน กทม.-โคราชมากสุด สมุทรสงครามน้อยสุด. สืบค้นจาก https://mgronline.com/onlinesection/detail/9660000001473.

Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes.

Ambak, K., Harun, N. E., Rosil, N., Daniel, B. D., Parasetijo, J., Abdullah, M. E., & Rohani, M. M. (2016). Driver intention to use electric cars using technology acceptance model. Smart Driving Research Centre, University Tun Hussein Onn Malaysia.

Bjerkan. K. Y., Norbech, T. E., & Nordtomme, M. E. (2016). Incentives for promoting Battery Electric Vehicle (BEV) adoption in Norway. Transportation Research Part D, 43,169-180.

Chu, A. Z. C., & Chu, R. J. C. (2011). The intranet’s role in newcomer socialization in hotel industry in Taiwan-technology acceptance model analysis Electronics version. The International Journal of Human Resource Management, 22(5), 1163-1179.

Cochran, W. G. (1997). Sampling techniques (3rd ed.). John Wiley & Sons.

Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quarterly, 319-340.

Davis, F. D., Bagozzi, R. P., & Warshaw, P. R. (1989). User acceptance of computer technology: A Comparison of two theoretical models. Management Science, 35(8), 982-1003.

DeFleur, M. L. & Ball-Rokeach, S. J. (1996). Theories of Mass Communication. Longman.

Emsenhuber, E. M. (2012). Determinants of the acceptance of electric vehicles. Department of business, Aarhus University.

Graham-Rowe, E., Gardner, B., Abraham, C., Skippon, S., Dittmar, H., Hutchins, R., & Stannard, J. (2012). Mainstream consumers driving plug-in battery-electric and plug-in hybrid electric cars: A qualitative analysis of responses and evaluations. Transportation Research Part A, 46 (2012), 140-153.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate data analysis. (7th ed.). Pearson.

Hair, F., Hopkins, L., Georgia, M., & Collegs, S. (2014). Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM) An emerging tool in business research. European Business Review, 26(2), 106-121.

Jabeen, F., Olaru, D., Smith, B., Braunl, T., & Speidel, S. (2012). Acceptability of electric vehicles: Findings from a driver survey. School of Electrical and Computer Engineering, University of Western Australia.

Junquera, B., Moreno, B., & Alvarez, R. (2016). Analyzing consumer attitudes towards electric vehicle purchasing intentions in Spain: Technological limitations and vehicle confidence. Technological Forecasting & Social Change, 109, 6-14.

Juska, J. M. (2018). Integrated marketing communication: Advertising and promotion in a digital world. Routledge.

Kotler, P. (2000). Marketing Management. Prentice Hall.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). Marketing Management (13rd ed.). Pearson Prentice Hall.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2016). Marketing management (15th ed.). Boston: Pearson.

Krupa, J. S., Rizzo, D. M., Eppstein, M. J., Lanute, D. E., Lakkaraju, K., & Warrender, C. E. (2014). Analysis of a consumer survey on plug-in hybrid electric vehicles. Transportation Research Part A: Policy and Practice, 64, 14-31.

Ling, Z., Cherry, C. R. & Wen, Y. (2021). Determining the factors that influence electric vehicle adoption: A Stated preference survey study in Beijing, China.Sustainability, 13(21),1-22.

Manktelow, L., Lynes, J., Riemer, M., Matto, T. D., & Cloet, N. (2021). Do we have a car for you Encouraging the uptake of electric vehicles at point of sale. Energy Policy, 100, 79-88.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). McGraw-Hill.

Rogers, E. M. (2003). Diffusion of innovation (5th ed.). Free Press.

Tu, J. C., & Yang, C. (2019). Key factors influencing consumers purchase of electric vehicles. Sustainability, 11(14), 1-22.

Wang, Z., Zhao, C., Yin., J., & Zhang, B. (2017). Purchasing intentions of Chinese citizens on new energy vehicles: How should one respond to current preferential policy. Journal of Cleaner Production, 161, 1000-1010.

Xu, G., Wang, S., Li, J., & Zhao, D. (2020). Moving towards sustainable purchase behavior: Examining the determinants of consumer intentions to adopt electric vehicles. Environmental Science and Pollution Research, 27, 22535-22546.

Zeithaml, V. A., Parasuraman, A., & Berry, L. L. (1990). Delivering quality service: balancing customer perceptions and expectations. Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-16

How to Cite

ตั้งจาตุรโสภณ อ. ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 18, n. 2, p. 75–92, 2023. DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.267698. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/267698. Acesso em: 19 เม.ย. 2025.