รูปแบบการพัฒนาการบูรณาการนโยบายภาครัฐเพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ประติ สุวรรณปักษิณ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ศุภสิทธิ์ เลิศบัวสิน วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

การส่งเสริมอุตสาหกรรม, นโยบายภาครัฐ, อุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษานโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า และ (2) เพื่อการพัฒนารูปแบบการบูรณาการนโยบายภาครัฐ ด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารจากหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อหาแนวทางการสนับสนุนนโยบายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการวิจัยพบว่า (1) นโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าเป็นนโยบายที่ดี ที่จะทำให้เกิดการใช้รถยนต์ไฟฟ้าอย่างแพร่หลายในประเทศไทย แต่ต้องมีการประชาสัมพันธ์ที่ดี และมีความชัดเจนในการส่งเสริมให้มากขึ้น (2) การพัฒนารูปแบบการบูรณาการนโยบายภาครัฐ เพี่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย เพื่อให้ประสบความสำเร็จ นโยบายของรัฐบาลควรมีความชัดเจน มีการกำหนดกรอบเวลา มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และการมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน

References

กระทรวงพลังงาน. (2561). นโยบายกาสนับสนุนและการส่งเสริมด้านอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า. สืบค้นจาก https://energy.go.th/2015/author/posts/

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2561). มาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://media.thaigov.go.th/uploads/document/124/2017/03/pdf/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%20EV%20%E0%B8%AD%E0%B8%81.-V3.pdf

การไฟฟ้านครหลวง. (2561). การเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้า. สืบค้นจาก https://www.mea.or.th/content/detail/87/4015

นงเยาว์ เอียดตรง. (2543). การวิเคราะห์หลักสูตรสู่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทุกกลุ่มประสบการณ์ ระดับประถมศึกษาปี่ที่ 5-6. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเน้จเม้นท์.

วินัย ภู่ประชาตระกูล. (2560). ยุทธศาสตร์การบริหารแบบบูรณาการด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัด 3 จังหวัดภาคใต้: ศึกษากรณีจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราชและกระบี่. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต).

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). ยุคยานยนต์ไฟฟ้ามาแรง หนุน SME ไทยรุ่ง. สืบค้นจาก https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSM EAnalysis/Pages/Electric-Vehicle.aspx

สถาบันยานยนต์. (2555). แผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ. 2555 – 2559. สืบค้นจาก http://www.thaiauto.or.th/2012/th/research/research-detail.asp?rsh_id=39

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2559). รายงานแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นด้านไฟฟ้าเพื่อรองรับยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย. สืบค้นจาก http://www.eppo.go.th/images/Infromation_service/studyreport/EV_plan.pdf

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). สืบค้นจาก http://www.oie.go.th/assets/portals/1/fileups/2/files/Industrial%20Master%20Plan/thailandindustrialdevelopmentstrategy4.0.pdf

Beare, D. (2012). Will electric vehicles be a burden or benefit for Ontario’s aging power grid. Canada: Faculty of The Environment, University of Waterloo.

Gong, H., Wang, M., & Wanf, H. (2012). New energy vehicles in china: a policies, demonstration, and progress. Mitigation and Adaptation Strategies for Global Change, 19(2), 1-22.

Guest, G. (2006). How many interviews are enough? an experiment with data saturation and variability. Sage journals, 18(1), 59-82.

Ohlsson, M. (2014). A new era for transportation in Europe. Sweden: Faculty of Engineering. Sweden: University of Gothenburg.

MRes, C. M. (2009). Assessing transition policies for the diffusion of electric vehicles. Uk: Department of Earth Science and Engineering, Imperial College London.

Slowik, P., & Lutsey, N. (2018). The continued transition to electric vehicles in U.S. cities. USA.: The International Council on Clean Transportation.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30

How to Cite

สุวรรณปักษิณ ป. .; เลิศบัวสิน ศ. . รูปแบบการพัฒนาการบูรณาการนโยบายภาครัฐเพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 16, n. 2, p. 155–170, 2021. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/254281. Acesso em: 3 พ.ค. 2025.