ดุลยภาพของตลาดในกลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคตในประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ชเนตตี พุ่มพฤกษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • นันทนิธิ์ เอิบอิ่ม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ดุลยภาพของตลาด, กลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคต, การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งให้ความสำคัญกับเรื่องดุลภาพของตลาดในกลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคต  (New S-curve) เนื่องจากในปัจจุบันด้านเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสร้างความได้เปรียบทางการค้ามากขึ้น ทั้งผู้ผลิตหรือผู้บริการจำเป็นต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมแบบสมัยใหม่ และในหลายภาคส่วนของอุตสาหกรรมการผลิตยังไม่สามารถปรับได้ให้รวดเร็ว สืบเนื่องจากเงื่อนไขของตัวผู้ผลิตเองและผู้บริโภคในหลายผลิตภัณฑ์ จึงก่อให้การความเปลี่ยนแปลงในดุลยภาพของตลาดขึ้น ขณะเดียวกันการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศด้านภาคอุตสาหกรรมต่างให้ความสำคัญกับศักยภาพความพร้อมในการเป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคต จนส่งผลให้เกิดปัญหาการเสียดุลยภาพของตลาดขึ้นทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน ถึงเวลาแล้วที่ควรให้ความสำคัญกับความเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาดในกลุ่มอุตสาหกรรมอนาคตจากการเข้าสู่ยุคดิจิทัล เพื่อให้ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นกลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศที่ก่อให้เกิดการต่อยอดและสร้างศักยภาพอย่างสูงสุดในอุตสาหกรรมของไทยต่อไป

References

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน. (2563). แผนพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานที่มีความต้องการและขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย. กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงาน.

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2558). คู่มือโอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนใน สาธารณรัฐสิงคโปร์. สืบค้นจาก Retrieved from: https://www.ditp.go.th/contents_attach/92690/92690.pdf

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2559). การปรับปรุงสินค้าเดิมเพื่อยืดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2561). แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2562-2565. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้นจาก https://www.dga.or.th/upload/download/file_9fa5ae40143e13a659403388d226efd8.pdf

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2563). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อสังคมและเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). กรุงเทพฯ: กระทรวงอุตสาหกรรม.

กาลัญ วรพิทยุต. (2559). Brand…Identity. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

กิตติธัช ตันมา. (2563). การใช้งานสมาร์ทโฟนพื้นฐาน. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เพชรบูรณ์. สืบค้นจาก https://sites.google.com/a/msts.ac.th/kittithat/

คณะกรรมการบริหารชุดวิชาหลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. (2561). หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

คมศร ประกอบผล, วิลันดา ดิสรเตติวัฒน์, ซาร่า ผลพิบูลย์ และ วีระพันธ์ โรจน์ณัฐกุล. (2562). TISCO Investment Portfolio Strategy 2019. สืบค้นจาก

https://www.tiscowealth.com/content/dam/wealth/ebook/tisco-tips-2018-01-02.pdf

ชุติกา เกียรติเรืองไกร, พรชนก เทพขาม และ วัชรินทร์ ชินวรวัฒนา.(2563). 10 ปีอุตสาหกรรมไทยเรามาไกลแค่ไหน. ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/FAQ/FAQ_165.pdf

ณัฐ อมรภิญโญ. (2558). รายวิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ. อุดรธานี: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2558). วิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน. สืบค้นจาก https://www.set.or.th/education/th/begin/stock_content04.pdf

ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์, จรินทร์ เทศวานิช และ สุมนทิพย์ บุญสมบัติ. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

ธนิต โสรัตน์. (2564). รายงานเชิงวิเคราะห์ภูมิทัศน์ตลาดแรงงานหลังวิกฤตโควิด ปี 2564 สายงานเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: สภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.

นัฏฐนันท์ ภู่สวาสดิ์. (2563, กรกฎาคม-ธันวาคม). กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อรองรับเศรษฐกิจดิจิทัลของอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 2(2), 1-19.

มนต์ชัย วัฒนเชื้อ. (2562). องค์ความรู้สรุปเนื้อหาวิชาของผู้ได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจเกษตร) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. สุราษฎร์ธานี: องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคใต้ กรมป่าไม้.

ราชโชติ เหลืองจันทร์. (2564). เศรษฐกิจไทยจะเป็นอย่างไร หากเราต้องอยู่กับโควิด-19 ไปตลอดกาล. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/research/research-intelligence/ri-covid-recovery-2021

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2561). S-curve อุตสาหกรรมอนาคตพลวัต. สืบค้นจาก https://ba.siam.edu/wp-content/uploads/2017/05/S-curve.pdf

สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560). รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมการขนส่งและการบิน. สืบค้นจากhttps://www.ipthailand.go.th/images/3534/web_01052018/Report_CHU/10_ Aviation_and_Logistics-revised_19-12-60_CHU.pdf

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2564). 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve). สืบค้นจาก http://eec.vec.go.th/th-th-New-S-curve

องอาจ สิงห์ลำพอง. (2560). การบริหารจัดการรายการโทรทัศน์ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 11(2), 209-245.

อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ์. (2560). การบัญชีต้นทุน. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น.

Bejan, A., & Lorente, S. (2011). The constructal law origin of the logistics S curve. Journal of Applied Physics, 8(3). 110.

Black, F. (1972). Capital Market Equilibrium with Restricted Borrowing. The Journal of Business. 45(3), 444-455.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30

How to Cite

พุ่มพฤกษ์ ช. .; เอิบอิ่ม น. ดุลยภาพของตลาดในกลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคตในประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคดิจิทัล. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 16, n. 2, p. 185–198, 2021. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/249471. Acesso em: 19 เม.ย. 2025.