ลักษณะและกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

Main Article Content

ผกามาศ ชัยรัตน์
สุนิสา มามาก
เกริกกิต ชัยรัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2.เพื่อศึกษาลักษณะและกิจกรรมส่งเสริม
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลด้วยวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษามีจำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสถิติใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)


ผลการวิจัยส่วนใหญ่พบว่า 1. ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ร้อยละ 73.75 เดินทางมาท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ร้อยละ 46 เดินทางมาท่องเที่ยวกับเพื่อน/กลุ่มเพื่อน ร้อยละ 49.50 มีผู้ร่วมเดินทางระหว่าง 3-5 คน ร้อยละ 69.50 เดินทางท่องเที่ยวในวันหยุด ร้อยละ 59 เคยเดินทางมาท่องเที่ยวแล้วมากกว่า 3 ครั้งขึ้นไป ร้อยละ 45.25 มีค่าใช้จ่ายสูงกว่า 10,000 บาทขึ้นไป ร้อยละ 37.25 ทราบข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวจากการออกบูธ/โบรชัวร์ และร้อยละ 93 กลับมาท่องเที่ยวแน่นอน 2. ลักษณะและกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า นักท่องเที่ยวมีลักษณะและกิจกรรมทัวร์สปาและนวดแผนไทยมากที่สุด รองลงมาคือ ทัวร์อาหารและเครื่องดื่มสมุนไพร ทัวร์กีฬาเพื่อสุขภาพ ทัวร์แหล่งท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ และทัวร์ฝึกสมาธิและบำเพ็ญภาวนา ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
ชัยรัตน์ ผ., มามาก ส. ., & ชัยรัตน์ เ. (2023). ลักษณะและกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 4(3), 78–91. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/MSVAR/article/view/271385
บท
บทความวิจัย

References

กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์. (2560). รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดี และท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. สืบค้น 27 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.ipthailand.go.th.

กระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทย

ให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (MEDICAL HUB) (พ.ศ. 2560-2569). สืบค้น 27 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.thailandmedicalhub.net.

ชญาณิศา วงษ์พันธุ์. (2565). แนวทางการใช้ธุรกิจสปาเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งในการเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

นาฏสุดา เชมนะสิริ. (2555). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา. (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: ธรรมสาร.

บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา. (2557). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: เฟริ์นข้าหลวงพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก. (2560). สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. สืบค้น 20 มกราคม 2561, จากhttps://anyflip.com.

รวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์. (2558). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). กองเศรษฐกิิจการท่่องเที่่ยวและกีีฬา สืบค้น 15 ตุลาคม 2566, จาก https://www.mots.go.th.

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก. สืบค้น 20 มกราคม 2561, จาก https://anyflip.com/zzfck/wgko/basic/301-350.

Chen, K.H., Chang, F.H., and Wu, C. (2013). Investigating the wellness tourism factors in hot spring hotel customer service. International Journal of Contemporary Hospitality Management. 25(7), 1092-1114.

Erfurt-Cooper, P. and Cooper, M. (2009). Health and Wellness Tourism: Spas and Hot Springs. Bristol: Channel View Publications.

Marketer. (2020). Wellness Tourism โอกาสของธุรกิจท่องเที่ยว. Retrieved 10 January 2021, from https://www.marketeeronline.co/archives/21776.

UNWTO. (2015). Tourism Highlights 2015. Retrieved 25 April 2021, from http://www.E-unwto.org/doi/book/10.18111/9789284416899.

UNWTO. (2019). The standard.co/world-tourism. Retrieved 15 January 2020, from World Tourism Organization: https://thestandard.co/world-tourism-first-half-2019.