กลยุทธ์การตลาดเชิงสร้างสรรค์และการโฆษณาเชิงเนื้อหา การท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

สุพัตรา คำแหง
สุธิกาญจน์ แก้วคงบุญ
สุภาพร ไชยรัตน์

บทคัดย่อ

 การวิจัยกลยุทธ์การตลาดเชิงสร้างสรรค์และการโฆษณาเชิงเนื้อหาการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า  ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี  สถานภาพโสด สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี  อาชีพลูกจ้างบริษัทเอกชน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน10,001-20,000 บาท กลยุทธ์การตลาดเชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับสินค้าและบริการจากการท่องเที่ยว คือ คุณภาพสินค้าและบริการ ผลการวิเคราะห์กิจกรรมการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ คือ นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ สรุปข้อเสนอแนะจากกลุ่มตัวอย่าง คือ การจัดบู๊ทให้ชิมฟรีตามสถานที่ต่าง ๆ การนำเสนอโดยพนักงาน ณ จุดขาย  การประชาสัมพันธ์  การตลาดแบบบอกต่อ การขายสินค้าหลายชิ้นในราคาพิเศษ  บรรจุภัณฑ์ การมีเครื่องหมายรับรอง และสรุปผลจากกำหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว คือ ควรมีการพัฒนาการสื่อสารทางการตลาด การพัฒนาคุณภาพการบริการ การพัฒนาผู้ประกอบการและบุคลากรผู้ให้บริการ การพัฒนามาตรฐานและการสร้างความร่วมมือการบริหารจัดการกิจกรรมทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

Article Details

How to Cite
คำแหง ส., แก้วคงบุญ ส., & ไชยรัตน์ ส. (2021). กลยุทธ์การตลาดเชิงสร้างสรรค์และการโฆษณาเชิงเนื้อหา การท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 2(2), 55–70. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/MSVAR/article/view/253154
บท
บทความวิจัย

References

กรมการท่องเที่ยว. (2559). สถิตินักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563, จาก http://www.tourism.go.th/home/details/11/221/ 25516

กัญญณัช นัคราเรือง. (2547). “ประสิทธิผลกิจกรรมการสอสารการตลาดที่มุงตอผูบริโภคเครื่องดื่มชูกําลังคาราบาวแดง”. วิทยานิพนธนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย.

จิตพิสุทธิ์ หงษ์ขจร (2560). ส่วนประสมทางการตลาด 7Ps ที่ส่่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพบ่อน้ำพรุร้อนรักษะวาริน จังหวัดระนอง.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต.จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ณัฐิตา กัลศรี และสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ (2556) . ศึกษากลยุทธ์การตลาดเชิงประสบการณ์ของเขาเขียวเอสเต้แคมป์ปิ้ง รีสอร์ท แอนดซาฟาร์ จ.ชลบุรี. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 21(35), 137-156.

ธวัชชัย สุวรรณสาร. (2558). เทคนิค 5 ข้อการทำเนื้อหาทางการตลาด CONTENT MARKETING แบบไอน์สไตน์. สืบค้นจาก http://www.coachtawatchai.org/2013/07/5-contentmarketing.html.

ธวัชชัย สุวรรณสาร. 2556.กลยุทธ์ AIDA เพื่อดึงความสนใจลูกค้าสนใจในโฆษณา จังหวัดกรุงเทพมหานคร. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : www.coachtawatchaiorg.html. 2 สิงหาคม 2563.

ประยูร บุญประเสริฐ. (2555). แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพํานักระยะยาว. สถาบันวิจัยและให้คําปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 11-14.

พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์. (2557). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาบ้านโคกไคร จังหวัดพังงา. วารสารเชิงวิชาการ Veridian E-Journal, 7, 650-665.

มนรัตน์ ใจเอื้อ, พนิต กุลศิริ, ธนภูมิ อติเวทิน และวรินทรา ศิริสุทธิกุล. 2559. รูปแบบการตลาดเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรมชุมชนบางหลวง ตำบลบางหลวง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 12(3) เดือน มกราคม - มีนาคม 2559, 12-24.

รสสุคนธ์ ศิรินภาเพ็ญ. (2559).การจัดการโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการธุรกิจโรงสีข้าว จังหวัดอุบลราชธานี. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

รุ้งกาญจน์ แสวงกาญจน์. (2551). ปัจจัยที่ตัดสินใจมาท่องเที่ยวและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อการท่องเที่ยว ณ วัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง. ภาคนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ละเอียด ศิลาน้อย. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวในการเดินทางท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร : กรณีศึกษาสวนสละอาทิตย์ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี. มหาวิทยาลัยตาปี.

ศิริเพ็ญ ดาบเพชร. (2557). การเลือกสถานที่ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวครั้งแรกและนักท่องเที่ยวซ้ำ Destination Choice between First-time and Repeat Tourists. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 9(2), 39-59.

สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2556). 5 ส. สร้างสุขในการทำงาน. ค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2556. จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=794715 ,2013.

อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ. (2548). จิตวิทยาการบริการ (Service Psychology Comprehension Strategies and Trend). กรุงเทพฯ: เพรส แอนดดีไซน.

อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท, 2549, การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุษณีย์ เล็กท่าไม้. (2558). แนวทางการพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดสำหรับร้านของที่ระลึกจังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Dennis, A. P., Margit, V., and Peter, L.. (2006). Integrating exhibit marketing into integrated marketing communications. เข้าถึงเมื่อ 15 มีนาคม. เข้าถึงได้จาก http://www.emeraldinsight.com.

Jefferson, S., & Tanton, S. (2015). Valuable content marketing how to make quality content your key to success. London: Kogan Page.

Özdemir, B., & Seyitoğlu, F. (2015) . A conceptual study of gastronomical quests of tourists: Authenticity or safety and comfort? Tourism Management Perspectives, 23, 1-7. doi: https://doi.org/10.1016/j.tmp.2017.03.010.