THE LEARNING MANAGEMENT OF COLLABORATIVE ACTIVE LEARNING USING PROJECT BASED LEARNING IN A BUSINESS APPLICATION PROGRAMMING SUBJECT การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังโดยใช้โครงงานเป็นฐาน รายวิชาการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจ

Main Article Content

ลัดดา สวนมะลิ

Abstract

The objectives of this research were to: (1) study the components, activities processes, media, and measurement and evaluation to create a model of collaborative active learning using project-based learning in business application programming subject and (2) to study the results of using the model to develop cognitive skills and interpersonal skills and responsibilities of 38 students. The research tools were the course learning plan of business application programming subject and questionnaires.


The data were analyzed using mean, standard deviation, and t-test. The results showed that the components of collaborative active learning using project-based learning management consists of (1) the background of the student before entering the course (2) the needs to study in business computer program (3) the requirements to study in business application programming subject (4) the collaborative active learning activity process (5) project-based learning and (6) measurement and evaluation. The learning process of collaborative active learning using project-based learning management is 5 steps; (1) preparation (2) analyze students' readiness (3) organize collaborative active learning activities (4) do a project and (5) share the knowledge between students. The results of cognitive skills and interpersonal skills and responsibilities before and after the study found that the average of both skills after learning were significantly higher than before learning at the statistical level of .05.

Article Details

How to Cite
สวนมะลิ ล. (2020). THE LEARNING MANAGEMENT OF COLLABORATIVE ACTIVE LEARNING USING PROJECT BASED LEARNING IN A BUSINESS APPLICATION PROGRAMMING SUBJECT : การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังโดยใช้โครงงานเป็นฐาน รายวิชาการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจ. MANAGEMENT SCIENCES VALAYA ALONGKORN REVIEW, 1(3), 38–51. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/MSVAR/article/view/248081
Section
Research Article

References

กานต์ อัมพานนท์. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เชิงรุกที่ส่งเสริมทักษะการคิด วิชาความเป็นครู สำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร. 20(2). 88-100.

ไกยสิทธิ์ อภิระติง. (2563). รูปแบบการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก แบบรวมพลัง โดยมีพี่เลี้ยงร่วมกับการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 14(2). 29-40

เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2554). การบูรณาการวิธีการเรียนแบบร่วมมือกับการเรียนร่วมกัน. Veridian E-Journal SU. 4(1). May - August 2011. กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 435-444.

ณัฐพร สุดดี. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนพลศึกษาตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับวีดิทัศน์ต้นแบบเพื่อส่งเสริมทักษะการสอนและความตระหนักในการสอนกีฬาพื้นเมืองไทยสำหรับนิสิตครู. รายงานการวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญส่ง หาญพานิช. (2558). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : จิรวัฒน์เอ็กซ์เพรส.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2561). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เยาวเรศ ภักดีจิตร. (2557). Active Learning กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. เอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการ “วันส่งเสริมวิชาการสู่คุณภาพการเรียนการสอน”. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2563 จาก apr.nsru.ac.th/Act_learn/myfile/27022015155130_article.docx

รัศมี ศรีนนท์, อุดมกฤษฎิ์ ศรีนนท์, วิภารัตน์ ยมดิษฐ์, และกรรณิการ์ กิจนพเกียรติ. (2561). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. 9(2). 311-341.

วรางคณา เรียนสุทธิ์. (2560). การศึกษาภูมิหลังและพฤติกรรมของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยทักษิณที่มีสถานภาพปกติและรอพินิจ โดยใช้การทดสอบโฮเทลลิ่งทีกำลังสอง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 19(2). 144-158.

สิทธิพงษ์ สุพรม. (2561). การพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารวิจัยและประเมินผลอุบลราชธานี. 7(2): 49-58.

อัญชลี ทองเอม. (2561). การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 8(3). 186-198.

Dolan, E. L. (2015). Biology Education Research 2.0. CBE Life Sciences Education, 14(4), ed1. doi:10.1187/cbe.15-11-0229.

Kustyarini, K. (2020). Self Efficacy and Emotional Quotient in Mediating Active Learning Effect on Students’ Learning Outcome. International Journal of Instruction, 13(2), 663-676. https://doi.org/10.29333/iji.2020.13245a.