บทบาททางการเมืองของพระสงฆ์ในประเทศเมียนมาร์

Main Article Content

พระมอญ ปุปผะ หองสา
นรพัชร เสาธงทอง

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาททางการเมืองของพระสงฆ์ในประเทศเมียนมาร์ตั้งแต่สมัยยุคอาณานิคมจนถึงช่วงหลังของการได้รับเอกราชจากอังกฤษ และในช่วงที่มีรัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง ผลการศึกษาพบว่า


  1. บทบาททางการเมืองของพระสงฆ์ประเทศเมียนมาร์ในยุคอาณานิคมนั้น ถือว่าเป็นบทบาทของพระสงฆ์ที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ โดยมีพระสอยาตอ อู่ อุตตะมะ และพระสอยาตอ อู่ วิสาระ เป็นผู้นำ

  2. เมื่อประเทศเมียนมาร์ได้รับเอกราชจากอังกฤษแล้ว พระสงฆ์ก็มีบทบาททางการเมืองคือเป็นศูนย์รวมจิตใจในการเรียกร้องให้รัฐบาลกองทัพได้แก้ไขวิกฤติทางการเมือง และวิกฤติทางเศรษฐกิจ

  3. ในช่วงรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง บทบาทของทางเมืองของพระสงฆ์ที่นำโดยคณะสงฆ์พิทักษ์ชาติและศาสนาได้เรียกร้องให้รัฐบาลพลเรือน ร่างกฎหมายเพื่อพิทักษ์ชาวพุทธ การย้ายศาสนาและการสมรส

คำสำคัญ: บทบาทพระสงฆ์, พระสอยาตอ อู่ วิสาระ, สอยาตอ อู่ อุตตะมะ

Article Details

How to Cite
หองสา พ. ป. ., & เสาธงทอง น. (2024). บทบาททางการเมืองของพระสงฆ์ในประเทศเมียนมาร์. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, 7(3), 507–522. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JPR/article/view/279648
บท
บทความวิชาการ

References

กลองซุง.(2556). พระสงฆ์กับการเมือง (ย่างกุ้ง : สำนักพิมพ์ปุงยิปชิน, 2556), หน้า 110.

จอเซยาโทน.(2560). คนทั้งโลกกับคนเดียว, (ย่างกุ้ง : สำนักพิมพ์เลนเลน, 2560), หน้า 149-156.

ไทยโพสท์, "ตำรวจเมียนมาออกหมายจับพระวีระทู", [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www. thaipost.net/main/detail/37179, [20 มกราคม 2564].

นรพัชร เสาธงทอง.(2558). การเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอกสารประกอบการบรรยาย, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

เนปยีดอ, “การประชุมคณะความมั่นคงและการป้องกันประเทศชาติ”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.myawady.net.mm/content/, [1 กุมภาพันธ์ 2556].

เม็นเซยา.(2560). ผู้นำที่แนะแนวทางเพื่อความเป็นอิสระ สยาตอ อู่ อุตตมะ, พิมพ์ครั้งที่ 2, (ย่างกุ้ง : สำนักพิมพ์ปัญจะกัง, 2560), หน้า 15

เมนปุญญะ.(2560). ผู้รักชาติอาชาไนย อู่ วิสาระ, (ย่างกุ้ง : สำนักพิมพ์เลนเลน, 2560), หน้า 151.

มติชน, "เปิดปูม “แรง” “ พระวีระทู” จากพม่าสู่ไทย", [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.matichon.co.th/columnists/news_74878 , [13 มีนาคม 2559].

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี, “สองปีรัฐประหารพม่ามีแต่ความสูญเสียและตกต่ำ”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://plus.thairath.co.th/topic/spark/102745, [4 กุมภาพันธ์ 2566].

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), "การปฏิวัติชายจีวร (Saffron Revolution)", [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.sac.or.th/exhibition/aseantimeline/2550-การปฏิวัติชายจีวร/ [14 มกราคม 2564].

Burmese, " มะหะนะ ออกคำสั่ง ให้ยกเลิก คณะสงฆ์ มะปะตะ ที่ไม่เป็นทางการ", [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.bbc.com/burmese/burma-40024035 , [24 พฤษภาคม 2560].

International Crisis Group, " A Silent Sangha?", [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.bbc.com/burmese/burma-40024035 , [14 มีนาคม 2566].

Keawta P., ประวัติ "พระวีระทู" ผู้ถูกรุมสับฐานหนุนหลัง "ธรรมกาย", [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://news.mthai.com/special-report/553432.html, [19 มกราคม 2564].

Mgronline.com, “ ผลเลือกตั้งพม่าล่าสุด พรรค “ซูจี” กวาด 77% รวม 880 ที่นั่งในสภา”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://mgronline.com/indochina/detail/9580000127107, [16 พฤศจิกายน 2558].

POKE PHA (พระมอญ-ปุปผะหองสา), “การรัฐประหารในประเทศเมียนมา” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์, 2566).

Rfa, "ระเบิดกำลังการเทศนาของพระวีระทู บาดเจ็บ 5 คน", [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.rfa.org/burmese/news/wirathu-expolsives-5-injuried-mdy-07222013000138.html , [22 กรกฎาคม 2013].