SOCIAL INTELLIGENCE OF THE THIRD YEAR STUDENTS OF FACULTY OF EDUCATION AT NARESUAN UNIVERSITY

Main Article Content

Samran Meejang
Sirikarn Tongmak

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความฉลาดทางสังคมของนิสิตชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2) เปรียบเทียบความฉลาดทางสังคมของนิสิตชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่างนิสิตชาย กับนิสิตหญิง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนิสิตชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2565 จำนวน 102 คน ผลการวิจัยพบว่า นิสิตชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2565 มีความฉลาดทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง และนิสิตหญิงมีความฉลาดทางสังคม สูงกว่านิสิตชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

Article Details

How to Cite
Meejang, . . S. ., & Tongmak, S. (2023). SOCIAL INTELLIGENCE OF THE THIRD YEAR STUDENTS OF FACULTY OF EDUCATION AT NARESUAN UNIVERSITY. Journal of MCU Phetchaburi Review, 6(2), หน้า 239 – 250. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JPR/article/view/270306
Section
Research Articles

References

กรมสุขภาพจิต. (2554). คลังความรู้วิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช. http://www.klb.go.th

กาญจน์กมล สุวิทยารัตน์. (2557). การศึกษาและพัฒนาความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(86), 126-151.

คณิตพันธุ์ ทองสืบสาย. (2552). การพัฒนาแบบวัดความฉลาดทางสังคมสำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิต [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัชชา สุริโย. (2559). ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษากลุ่มที่มีผลต่อการเสริมสร้างความฉลาดทางสังคมในวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ.

ธีรพัฒน์ วงศ์คุ้มสิน. (2558). การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต: หน่วยที่ 8 ทักษะชีวิตกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปาณิศา คงสมจิตต์. (2559, 24 มีนาคม). ความฉลาดทางสังคม (SQ) ในยุคศตวรรษที่ 21. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. http://www.council.mju.ac.th/openFile.aspx?id=MTcwMjlz

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2538). งานบุคลากรนิสิตนักศึกษา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์วิทยาลัย.

ศิริญพร บุสหงส์, ชนัดดา แนบเกษร และจิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16(1), 26-38.

อารีย์ พันธ์มณี. (2542). จิตวิทยาการเรียนการสอน. ต้นอ้อ 1999.

Albrecht, K. (2006). Social Intelligence: The New Science of Success. Harvard Business Review.

Bar-On, R. (2005). The impact of emotional intelligence on subjective well-being. Perspectives in Education, 23(1), 41-62.

Frith, C. D. (2008). Social cognition. Philosophical Transactions of the Royal Society B: Biological Sciences, 363(1499), 2033-2039. https://doi.org/10.1098/rstb.2008.0005

Gardner, H. (1983). Frames of Mind: A Theory of Multiple Intelligences. Basic Books.

Goleman, D. (2006). Social Intelligence. Random House Group Limited.

Gur, R. C., Richard, J., Calkins, M. E., Chiavacci, R., Hansen, J. A., Bilker, W. B., Loughead, J., Connolly, J. J., Qiu, H., . . . Gur, R. E. (2012). Age group and sex differences in performance on a computerized neurocognitive battery in children age 8-21. Neuropsychology, 26(2), 251–265. doi:10.1037/a0026712.

Kret, M. E., & De Gelder, B. (2012). A review on sex differences in processing emotional signals. Neuropsychologia, 50(7), 1211-1221. https://doi.org/10.1016/j.neuropsychologia. 2011.12.022

Lalimay. (2562, 6 มีนาคม). รู้จัก 8 ความสามารถในทฤษฎีพหุปัญญาที่บอกว่าเด็กแต่ละคนเก่งไม่เหมือนกัน. Parents One. https://www.parentsone.com/the-theory-of-multiple-intelligences/

Pavlova, M. A., Sokolov, A. N., & Bidet-Ildei, C. (2015). Sex Differences in the Neuromagnetic Cortical Response to Biological Motion. Cerebral Cortex, 25(10), 3468–3474. https://doi.org/10.1093/cercor/bhu175

Shaffer, D.R. (2003) Estimating the Gini Hedge Ratio. Managerial Finance, 29, 73-84. https://doi.org/10.1108/03074350310768256

Spaulding, S. (2015). Phenomenology of social cognition. Erkenntnis, 80, 1069-1089. https://doi.org/10.1007/s10670-014-9698-6