มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมมาตรฐานผู้ขับขี่ยานพาหนะ ขนส่งทางราง
Main Article Content
บทคัดย่อ
กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการจัดตั้งกรมการขนส่งทางรางขึ้นภายใต้กระทรวงคมนาคมตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2562 เพื่อกำกับดูแลด้านการขนส่งทางรางของประเทศแต่อย่างไรก็ดี การตราร่างพระราชบัญญัติการขนส่งทางราง พ.ศ. .... ขึ้นเพื่อเป็นบทบัญญัติการกำกับดูแลมาตรฐานและความปลอดภัย การกำกับการประกอบกิจการขนส่งทางรางยังไม่ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา จึงทำให้ไม่สามารถกำหนดมาตรฐานคุณสมบัติและการอบรมของผู้ขับขี่ยานพาหนะขนส่งทางราง
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา. (2529). วิสาหกิจมหาชน (รัฐวิสาหกิจ) ในกฎหมายไทย: ศึกษาในเชิง ประวัติศาสตร์และเชิงวิเคราะห์ข้อความคิด. ใน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดาราพร ถิระวัฒน์. (2542). กฎหมายสัญญา สถานะใหม่ของสัญญาปัจจุบันและปัญหาข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธนาวัฒน์ สังข์ทอง. (2542). การเรียกคืนสินค้าที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค. ใน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขากฎหมายธุรกิจ). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นันท์นภัส ตั้งมั่นยุติธรรม. (2549). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจรถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกินเจ็ดคน. ใน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2552). หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494. (ม.ป.ป.).
พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494. (ม.ป.ป.). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 68 ตอนที่ 40 ฉบับพิเศษ. หน้า 5-6 (30 มิถุนายน 2494).
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวกน.). (2558). เทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางของไทย: จากการพัฒนากำลังคนสู่ความสามารถการสร้างความสามารถในภาคอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.