การจัดการตำบลเข้มแข็งแบบหุ้นส่วนด้วยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม

ผู้แต่ง

  • อรรฆชัย ตระการศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • กานต์ บุญศิริ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • วิทยาธร ท่อแก้ว มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

การจัดการตำบลเข้มแข็ง, ตำบลเข้มแข็งแบบหุ้นส่วน, การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม

บทคัดย่อ

ตำบลเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทั้งในมิติทางกายภาพ วิถีชีวิต วัฒนธรรม และอื่น ๆ และมีองค์ประกอบเชิงองค์กร 4 ภาคส่วนที่เรียกว่า จตุพลัง คือมีการบริหารจัดการตำบลภายใต้กลไกหลัก 4 ส่วน ได้แก่ กลไกการบริหารราชการส่วนภูมิภาค กลไกการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น กลไกภาคประชาสังคมและกลไกความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น ๆ ซึ่งสามารถประกอบกันเข้าเป็น ระบบตำบลจัดการ ในลักษณะการจัดการ
แบบหุ้นส่วน และสานพลัง เพื่อบูรณาการการทำงานเป็นระบบตำบลเข้มแข็งเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน บทความวิชาการนี้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นความสำคัญของการจัดการตำบลเข้มแข็งแบบหุ้นส่วนด้วยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมและพัฒนาข้อเสนอการพัฒนาตำบลเข้มแข็งโดยใช้การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือสำคัญ
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศที่เน้นการพัฒนาอย่างบูรณาการและยั่งยืน การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมจะให้ความสำคัญกับปฏิกิริยาโต้กลับของผู้รับสารตั้งแต่กระบวนการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำและร่วมรับผลประโยชน์ อีกทั้งยังเป็นกลไกสำคัญในการชับเคลื่อนการพัฒนาตำบลเข้มแข็งผ่านการสื่อสารระหว่างคณะทำงานของโครงการและสมาชิกโครงการ  การสื่อสารระหว่างคณะทำงานด้วยกันเองและการสื่อสารระหว่างสมาชิกด้วยกันเอง

References

กมลศักดิ์ วงศ์ศรีแก้วและคณะ. (2560). การพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง: กรณีศึกษาชุมชนพูนบำเพ็ญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วารสารพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 5(1), 46-57.

กาญจนา แก้วเทพ. (2543). สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เอดิสัน เพรส โพรดักส์.

โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนแบะท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา. (2564). รายงานคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา เรื่อง การจัดการตำบลเข้มแข็งตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

จามะรี เชียงทอง. (2549). สังคมวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นภาภรณ์ หะวานนท์และคณะ. (2550). ทฤษฎีฐานรากในเรื่องความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ประเวศ วะสี. (2551). สร้างเจดีญเริ่มจากฐาน สร้างสังคมเริ่มจากชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

__________. (2551). จุดเปลี่ยนประเทศไทย หัวใจคือชุมชน. กรุงเทพฯ: กรีน ปัญญาญาณ.

ปัณณพงศ์ วงศ์ณาศรี. (2561). วิเคราะห์บริบทความท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารท้องถิ่นเพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมท้องถิ่นในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์, 20(1). 63-78.

ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2551). การสื่อสารประเด็นสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย. กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ และจรัส ลีกา (2564). การสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนในยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาชุมชนเข้มแข็งองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกุงธนสาร อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8(1), 189-201.

ภัทร์ฐิตา ทุมเกิด. (2565). ตำบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็งสร้างเศรษฐกิจไทยแข็งแรง. บทความหนังสือพิมพ์บ้านเมืองออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2566. https://www.banmuang.co.th/column/politic/6862

วสันต์ ลิ่มรัตนภัทรกุลและ ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๓). รายงานวิจัยชุมชนเรื่อง “ชุมชนท้องถิ่นกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน”. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2562). รวมบทเรียน นวัตกรรมชุมชนท้องถิ่น จัดการตนเองและพื้นที่ปฏิบัติการเรียนรู้ใหม่ พัฒนาคน พัฒนาชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

_________. (2564). โมเดลนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็ง 50 บทเรียนการพัฒนาตำบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนานวัตกรรมชุมชนจัดการความรู้และสื่อสาร สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).

_________. (2564). รายงานประจำปี 2564. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).

สมบูรณ์ ธรรมลังกา. (2556). รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐานในจังหวัดเชียงราย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15(2), 58-66

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2565). การประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือแนวทางการบริหารจัดการตำบลเข้มแข็งแบบหุ้นส่วน. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2565. https://www.opdc.go.th/content/ODEwNA

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ประจำปี 2562. กรุงเทพฯ: ซีดี มีเดีย ไกด์

อินทร วิชิตตานนท์ และเตชพล ฐิตยารักษ์. (2547). ชุมชนเข้มแข็ง: หนทางสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารเศรษฐกิจและสังคม.,41(1), 11-16.

Brown, J. and Isaacs, D. (1994). The Department of Sustainability and Environment as cited in Ismael Ahmed Awad, et al. (2019) Community participation role in interior urbanism to consolidate neighbors’ social values in residential communities. International Design Journal, 9(1), 191-198.

Cohen, J. and Uphoff, N., (1977). Rural Development Participation: Concepts and Measures for Project Design, Implementation and Evaluation. New York: Cornell University.

Fornaroff, A. (1980). Community involvement in Health System for Primary Health Care. Geneva: World Health Organization.

Jacobson, T. & Kolluri, S. (1999). Participatory Communication as Communication Action, Theoretical approaches to participatory communication. Cresskill. New York: Hampton Press.

Servaes, J., et al., (1996). Participatory communication for social change. California: Sage.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-27

How to Cite

ตระการศาสตร์ อ. ., บุญศิริ ก. ., & ท่อแก้ว ว. . (2024). การจัดการตำบลเข้มแข็งแบบหุ้นส่วนด้วยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม. วารสารกฎหมายและการเมืองการปกครอง, 2(2), 63–75. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JPG/article/view/283751