การเรียนรู้ประวัติศาสตร์พุทธชินราชศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์พุทธชินราชศึกษาโดยผู้สอนจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ 2 วิธี คือ 1) การเรียนรู้ที่เน้นครู/ผู้สอนเป็นศูนย์กลาง จัดเป็นการสอนแบบบอกความรู้ ให้ความรู้แก่นักเรียน โดยการอธิบาย/บอกให้จดบันทึกการทดสอบ/พิสูจน์ความรู้ที่ได้ หรือทำแบบฝึกหัด 2) การเรียนรู้ที่เน้นเด็ก/นักเรียนเป็นศูนย์กลาง สร้างองค์ความรู้ โดยครูจัดสถานการณ์ให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ทดลอง หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ภายใต้การจัดสถานการณ์การเรียนรู้ของครูที่กระตุ้นให้สงสัยใคร่รู้ คิดหาคำตอบ ลงมือปฏิบัติ และค้นพบคำตอบด้วยตนเองจากองค์ความรู้ในพื้นที่หรือท้องถิ่นของตนเองด้วยการศึกษาประวัติศาสตร์พุทธชินราชศึกษา โดยสามารถนำหลักพุทธธรรมทางพุทธศาสนามาส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามประวัติศาสตร์พุทธชินราชศึกษาในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพิมล พรพีระชนม์. (2550). การจัดกระบวนการเรียนรู้. สงขลา: เทมการพิมพ์สงขลา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.
พระราชวรมุนี (ป. อ. ปยุตฺโต). (2530). ทางสายกลางของการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พรินติ้งกรุ๊ฟ.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิชัย ตันศิริ. (2550). อุดมการณ์ทางการศึกษาทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริบูรณ์ สายโกสุม, (2542). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยราคำแหง.
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2565). การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล. แหล่งที่มา https://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/life-long-learning/3678/ สืบค้นเมื่อ 22 มิ.ย. 2565.
อติพร เกิดเรือง. (2560). การส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับสังคมไทยในยุคดิจิทัล. แหล่งที่มา https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JLPRU/article/download/91025/71507/224811 สืบค้นเมื่อ 22 มิ.ย. 2565.