ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพตามหลักพุทธธรรม สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ในยุคดิจิทัลดิสรับชั่น

Main Article Content

น้ำอ้อย สุนทรพฤกษ์

บทคัดย่อ

ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการจัดการศึกษา เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง คนในองค์กรมีความคาดหวังต่อผู้บริหาร คือ การมีคุณธรรม คือ หลักพรหมวิหาร 4 และหลักทศพิธราชธรรม รวมถึงเป็นผู้มีคุณสมบัติที่รู้จักในบทบาทและปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่ มีภาวะผู้นำ มีวิสัยทัศน์ มีเหตุผลและความถูกต้อง เป็นนักคิดนักวิเคราะห์ มีเมตตาธรรม รอบรู้ เก่ง ดี มีความสุขและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ส่งผลให้สถานศึกษามีคุณภาพและนำไปสู่การพัฒนาที่ดีขึ้น โดยนำองค์กรทางการศึกษาสู่ยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น ได้แก่ กลยุทธ์ดิจิทัลที่เหมาะสม การทำงานที่เป็นระบบดิจิทัล รูปแบบอัตโนมัติ และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น บุคลากระมีความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมได้อย่างต่อเนื่อง มีเทคโนโลยีเป็นกุญแจสู่สำคัญของการปรับเปลี่ยนองค์กรทางการศึกษาสู่ยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น การจัดการงบประมาณมีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา มีวัฒนธรรมองค์กรสนับสนุนให้องค์กรเกิดความโปร่งใส เป็นพลวัต การเพิ่มขีดความสามารถ ปรับเปลี่ยนทัศนคติเพื่อสร้างโอกาสดิจิทัลมากที่สุดและเกิดความคุ้มค่า

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จันทร์จิรา เหลาราช. (2564). การปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลและผลกระทบต่อองค์กร. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มนุษยศาสตร์สาร). 22(1). 227-238.

ทิศนา แขมมณี และภาษิต ประมวลศิลป์ชัย. (2547). ประสบการณ์และกลยุทธ์ของผู้บริหารในการปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: ปกรณ์ศิลป์พริ้นติ้ง.

พระครูจิรธรรมธัช (จิรธมฺโม). (2553). ศึกษาการประยุกต์หลักพุทธธรรมที่ใช้ในการบริหารจัดการวงดนตรีหมอลำคณะเสียงอีสาน นกน้อย อุไรพร. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพดิลก. (2553). การบริหารจัดการองค์กรทางพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2553). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

พระราชญาณวิสิฐ. (2552). หลักธรรมาภิบาล และประมุขศิลป์: คุณลักษณะความเป็นผู้นำที่ดี. พิมพ์ครั้งที่ 6. ราชบุรี: มูลนิธิพุทธภาวนาวิชาธรรมกาย.

พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค DIGITAL DISRUPTION ต่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 18(1). 1-6.

ภารดี อนันต์นาวี. (2551). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. ชลบุรี: สำนักพิมพ์มนตรี.

ศรีภูมิ สุขหมั่น. (2552). การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

หวน พินธุพันธ์. (2548). การบริหารการศึกษา. นนทบุรี: พินธุพันธ์การพิมพ์.

Balyer, A. & Öz, Ö. (2018). Academicians’ views on digital transformation in education. International Online Journal of Education and Teaching. 5(4). 809-830.

Fitriani Lubis. (2019). Education in the Disruption Era. Britain International of Linguistics. Arts and Education. 1(2). 183-188.

Gimpel, Henner., Hosseini, Sabiölla., Huber, Rocco., Probst, Laura., Röglinger, Maximilian & Faisst Ulrich. (2018). Structuring Digital Transformation: A Framework of Action Fields and its Application at ZEISS. Journal of Information Technology Theory and Application. 19(1). 31-54.

Kopp, M., Gröblinger, O. & Adams, S. (2019). Five Common Assumptions that Prevent Digital. Transformation at Higher Education Institutions. INTED2019 Proceedings. Valencia, Spain.

Robbins, S.P. (2003). Organizational Behavior: Concepts Controversies and Application. 10th ed. New Jersey: Pearson prentice hall.

Valdez-De-Leon, O. A. (2016). Digital Maturity Model for Telecommunications Service Providers. Technology Innovation Management Review. 6(8). 19-32.

Voronin, D.M., Saienko, V.G. & Tolchieva, H.V. (2020). Digital Transformation of Pedagogical Education at the University. Advances in Social Science. Education and Humanities Research. 4(37). 757-763.