การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 เป็นการใช้ทรัพยากรบุคคลเพื่อให้ปฏิบัติงานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กรโดยผ่านกิจกรรมความคิดริเริมสร้างสรรค์ขององค์กร การบริหารทรัพยากรมนุษย์ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจในการบริหารงานบุคคล ผู้บริหารต้องมีความเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง วางกลยุทธ์ในการบริหาร จัดการความรู้ในองค์กร พัฒนาความรู้และนวัตกรรมตลอดเวลามีองค์ประกอบด้านวิชาการ ภาวะผู้นำด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยี ผู้บริหารต้องมีการขับเคลื่อนองค์กร ดังนี้ 1) การพัฒนาทักษะแห่งอนาคต โดยการพัฒนาให้บุคลากรในองค์กรมีการปรับตัว มีทักษะด้านภาษา ทักษะในการสื่อสาร ทักษะใหม่ๆ ที่ตอบสนองต่อระบบดิจิทัล 2) การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ในการบริหารจัดการงานในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) การสร้างองค์กรแห่งความคล่องตัว พัฒนาบุคลากรให้มีความคล่องตัวด้านความคิด ปฏิสัมพันธ์กับคน การเปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ และการตระหนักรู้ในตนเอง พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ให้บุคลากรทุกระดับสามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กุลชลี พวงเพ็ชร์. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. ปทุมธานี: ยูโอเพ่น.
กุลเชษฐ์ มงคล. (2563). การคาดการณ์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Foresight) ภายใต้วิกฤติ : สมรรถนะสำคัญของกําลังคนในโลกแห่งความผันผวนยุค VUCA. วารสารข้าราชการ. 62(2). 12.
เกียรติ บุญยโพ. (2562). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุคใหม่. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์. 21(1). 165-170.
ไตรรัตน์ ยืนยง. (2563). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) การบริหารทรัพยากร มนุษย์ภาครัฐและเอกชน. ตาก: ศูนย์การพิมพ์นอร์ทเทิร์น.
ธัญพิมล วสยางกูร. (2565). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุคการเปลี่ยนแปลงพลิกผัน ด้วยการสร้างองค์กรแห่งความคล่องตัว. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย. 4(4). 15-27.
ผกากาญจน์ ปฐมาญาดา. (2565). แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐอย่างยั่งยืนในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ. 10(1). 1-14.
พระมหาจำนงค์ ผมไผ. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารส่งเสริมและพัฒนาวิชาการสมัยใหม่. 1(1). 66-79.
พิกุล นามฮุง. (2565). การบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการบริหารการศึกษา. 1(2). 30-43.
ภารดี ชาวนรินทร์. (2565). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์สังกัด สถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิจัยวิชาการ. 5(1). 113-128.
มณีรัตน์ ชัยยะ. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัล (Digital HR). วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ. 11(1). 104-115.
รณรงค์ ศุภรัศมี. (2563). สมรรถนะหลักสำหรับนักบริหารระดับสูงภาครัฐของไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารข้าราชการ. 62(2). 4.
วุฒิพงศ์ จันทร์เมืองไทย. (2564). นวัตกรรมการบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับองค์กรด้านการศึกษา. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ. 6(2). 50-62.
ศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์. (2563). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2567). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2566-2567). แหล่งที่มา https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=13651&filename=develop_issue สืบค้นเมื่อ 20 ม.ค. 2567.
สุวัฒน์ กู้เกียรติกาญจน. (2564). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 10(3). 69-80.