การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบอริยสัจ 4

Main Article Content

ณัฐพล มิตรอารีย์
พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ
สิน งามประโคน

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบอริยสัจ 4 เป็นขั้นตอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นกระบวนการที่ให้ผู้เรียนได้พยายามแสวงหาความรู้ ค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยนำเอาลำดับขั้นทั้งสี่ของอริยสัจในศาสนาพุทธมาใช้เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาของตนเอง มีขั้นตอนในการเรียนรู้ 4 มีขั้นตอนการเรียนรู้ ได้แก่ ขั้นกำหนดปัญหา (ขั้นทุกข์) 1) ผู้สอนกำหนดและนำเสนอปัญหาอย่างละเอียด 2) ผู้สอนช่วยผู้เรียนให้ได้ศึกษาพิจารณาดูปัญหา ขั้นการตั้งสมมติฐาน (ขั้นสมุทัย) 1) ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนให้ได้พิจารณาด้วยตัวเอง 2) ผู้สอนช่วยผู้เรียนให้ได้เกิดความเข้าใจ 3) ผู้สอนช่วยผู้เรียนให้คิดว่าในการแก้ที่สาเหตุ ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (ขั้นนิโรธ) 1) ใช้เทคนิคการแบ่งงานและการทำงานเป็นกลุ่มและเสนอแนะวิธีการจดบันทึกข้อมูล และขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล (ขั้นมรรค) 1) ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสรุปได้ 2) ผู้เรียนช่วยกันกำหนดแนวทาง ในการปฏิบัติและลงมือปฏิบัติ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. แหล่งที่มา http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=47936&Key=news20. สืบค้นเมื่อ 15 ก.ค. 2565.

แก้วกล้า มิชัยโย. (2564). ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้. แหล่งที่มา http://www.tumcivil.com/engfanatic/board/ gen.php?topic_id=13741&hit=1. สืบคนเมื่อ 12 ก.ค. 2564.

ชูชีพ อ่อนโคกสูง. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างพลังความสามารถแห่งตนเป้าหมายและความเป็นไปได้ที่จะกระทำกับแรงจูงใจในการเรียน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.

ปราณี รามสูต. (2554). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและ องค์ประกอบ” ใน ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (25711) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 4. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พรพิมล พรพีระชนม์. (2550). การจัดกระบวนการเรียนรู้. สงขลา: เทมการพิมพ์สงขลา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (2565). กิจกรรมแนะแนว. แหล่งที่มา http://cmrupsy.com/ wordpress/?p=4300. สืบค้นเมื่อ 15 ก.ค. 2565.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วนิช บรรจง และคณะ. (2540). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: กรุงสยามการพิมพ์.

วรรณี ลิมอักษร. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.

ศิริบูรณ์ สายโกสุม. (2542). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สาโรช บัวศรี. (2526). วิธีสอนตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจในการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุวิทย์ มูลคำ. (2545). 20 วิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

อวิรุทธ์ เหมานุรักษ์. (2565). การเรียน การสอนในยุคปัจจุบัน. แหล่งที่มา http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=47936&Key=news20. สืบค้นเมื่อ 15 ก.ค. 2565.

อารี พันธ์มณี. (2534). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: เลิฟแอนด์ลิฟเพรส.