ไตรสิกขา : พุทธธรรมพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการจัดการเรียนการเรียนรู้ตามกระบวนการของหลักไตรสิกขาเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาที่ดีด้านร่างกาย จิตใจ และปัญญางอกงาม และจัดการกับสิ่งทั้งหลายอย่างถูกต้อง มีชีวิตที่ดีงาม สังคมมีความสงบสุข มีสมาธิ มีความเข้าใจเนื้อหาสาระที่เรียน และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนต้องบูรณาการตามขั้นตอนสำคัญ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นนำ 2) ขั้นสอน 3) ขั้นสรุป ทบทวนใช้ปัญญาและเหตุผล 4) ขั้นประเมินผลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามกระบวนการอย่างยั่งยืนต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
เนตรชนก วิภาตะศิลปิน. (2559). รูปแบบการพัฒนาเยาวชนตามหลักไตรสิกขาในโครงการสามเณรปลูกปัญญาธรรม. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ปราถนา ชนะศักดิ์. (2556). แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/514718 สืบค้นเมื่อ 14 มี.ค. 2564.
พรพิมล พรพีระชนม์, (2550). การจัดกระบวนการเรียนรู้. สงขลา: เทมการพิมพ์.
พระธรรมปิฏก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2539). การศึกษาเครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. (2552). คำพ่อสอน : ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรุงเทพมหานคร.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2550). หัวใจพระพุทธศาสนา. พุทธจักร. 61(5). 7.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2555). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 32. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
พุทธทาสภิกขุ. (259). การศึกษาสมบูรณ์แบบ: คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึงที่สุด. กรุงเทพมหานคร: อุษาการพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิลาวรรณ พิมประสงค์. (2564). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/ ppvilawan21/thaksa-haeng-stwrrs-thi-21 สืบค้นเมื่อ 20 มี.ค. 2564.
อารี พันธ์มณี. (2544). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ต้นอ้อ.
Somrudee Wongthong. (2557). การศึกษาที่พร้อมด้วยศีล สมาธิ และปัญญา. แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/sangkhmsuksaniradabprathmsuksa/rup-baeb-kar-sxn/rup-baeb-kar-sxn-baeb-tirsikkha สืบค้นเมื่อ 11 มี.ค. 2564.