คุณลักษณะครูของโรงเรียนในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้จะนำเสนอคุณลักษณะครูของโรงเรียนในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลประกอบด้วย 1) คุณลักษณะของครูดีมี 7 ประการ คือ (1) น่ารัก (2) น่าเคารพ (3) น่าเจริญใจ (4) รู้จักพูดให้ได้ผล (5) มีความอดทนต่อถ้อยคำ (6) รู้จักสอนเรื่องง่ายไปหายาก (7) ไม่ชักนำชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย 2) คุณลักษณะครูที่ดีต้องมีทั้งความรู้ความสามารถตามแนวคิดและทฤษฎีในการสอนและทักษะเป็นนักจัดการที่ดีมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีความสุขทั้งประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นในการปฏิบัติงานเป็นแม่พิมพ์ของชาติที่ดีและเป็นต้นแบบแก่ศิษย์อย่างภาคภูมิใจในอาชีพความครูของตนเองด้วยจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูของชาติ และ 3) คุณลักษณะของครูในยุคดิจิทัล 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 ครูต้องเป็นผู้แนะนำ ช่วยเหลือ สร้างแรงดลใจในการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 2 ครูต้องพัฒนาและออกแบบ มาตรฐานที่ 3 ครูต้องส่งเสริม ต้นแบบการเป็นพลเมืองทาง Digital
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2545). การกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปนระเทศไทย. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ชฎาพร จิตศิลป์. (2555). ครูกับเทคโนโลยีสารสนเทศ. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/490852 สืบค้น 2 มิ.ย. 2564.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รุ่ง แก้วแดง. (2553). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2539). แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539. แหล่งที่มา https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/viewer.php สืบค้น 2 มิ.ย. 2564.
Banthitablog. (2559). บทบาทของครูในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและยุคดิจิตอล. แหล่งที่มา https://banthitablog.wordpress.com/บทบาทของครูในยุคเทคโนโ/ สืบค้นเมื่อ 5 พ.ค. 2564.
Vichsuda ดอทคอม. (2559). บทบาทของครูในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและยุคดิจิตอล. แหล่งที่มา https://vichsuda.wordpress.com/2016/02/11/บทบาทของครูในยุคเทคโนโ/ สืบค้น 2 มิ.ย. 2564.