การสื่อสารภายในโรงเรียนเชิงพุทธบูรณการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอหลักการสื่อสารภายในโรงเรียนเชิงพุทธบูรณการอันเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องด้วยการอาศัยการติดต่อสื่อสารเป็นเครื่องมือ เพื่อจะได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเกิดประสิทธิผลในการดำเนินงานการสื่อสารสู่ประชาชนที่เกี่ยวข้อง โดยมีขั้นตอนการสื่อสารภายในโรงเรียนเพื่อให้มีประสิทธิผล 4 ขั้นตอนประกอบด้วย 1) ขั้นตอนการรับฟัง2) ขั้นตอนการวางแผนตัดสินใจ 3) ขั้นตอนการติดต่อสื่อสาร 4) ขั้นตอนการประเมินผล เพื่อทำการบูรณาการกับหลักพุทธธรรม คือ หลักกัลยาณมิตร 7 ประการ อันทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดีต่อกัน เกิดการยอมรับนับถือ ก่อให้เกิดความศรัทธา เลื่อมใส และทำให้เกิดความร่วมมือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ดีภายใต้การปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2551). ภาษากับการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จําลอง เขตจำนันต์. (2539). หลักและทฤษฎีการสื่อสาร. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี.
พรพิมล ก่อวงษ์. (2550). หลักการการสื่อสารตามแนวพุทธกับหลักการการสื่อสารสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2544). พุทธวิธีการเผยแผ่ของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2540). ภาษากับการสื่อสาร. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Cutip Scott M. and Center Allen H. (1999). Effective Public Relations. San Francisco: Jossey-Bass.
David K. Berlo. (1960). The Process of Communication. New York: Holt. Rinehart and Winston.
Wilcox, D. L., Cameron, G. T., Ault, P. H., & Agee, W. K. (2003). Public relations: Strategies and tactics. 7th ed. Boston: Allyn & Bacon.