ศึกษาสภาพปัจจุบันในการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันในการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารและครูในโรงเรียนประถมศึกษา ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม จำนวน 361 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 10 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา สรุปผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบันในการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน คือ การประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง การคัดทางเลือก การศึกษาหาทางเลือก การปฏิบัติตามทางเลือก และการนิยามปัญหา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
จารุวรรณ วิจิตรวงศ์วาน. (2556). การตัดสินใจของผู้บริหารกับการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา ประเทศสาธารณรัฐสงคมนิยมเวียดนาม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ชมรมเด็ก.
บุญชม ศรีสะอาด. (2558). วิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.
พระครูปลัดไกรสอน ธมฺมรํสี (คำน้อย). (2561). รูปแบบการตัดสินใจเชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ยืนยง ราชวงษ์. (2555). จุดเด่นการศึกษาประเทศเวียตนาม. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/165996 สืบค้นเมื่อ 25 ต.ค. 2562.
วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา และคณะ. (2560). การสังเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย และประเทศไทย. วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(2). 2373-2374.
สุนทร โคตรบรรเทา, (2558). การศึกษาในเวียดนาม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. 2(1). 187-194.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3). 607-610.
Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. in Reading in Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.
theepakorn jithitikulchai. (2560). แนวคิดและประสบการณ์จากต่างประเทศในการปฏิรูปการศึกษา. แหล่งที่มา https://theepakornblog.wordpress.com/2017/02/02/first-blog-post/ สืบค้นเมื่อ 28 ต.ค. 2562.