การจัดการเรียนรู้ตามหลักพุทธธรรม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดการเรียนรู้ตามหลักพุทธธรรมเป็นการจัดการเรียนรู้ด้วยการบูรณาการตามหลักพุทธธรรม คือ หลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมบูรณาการกับหลักไตรสิกขาพัฒนาเยาวชน 3 ด้าน คือ 1) พัฒนาด้านพฤติกรรม 2) พัฒนาด้านจิตใจ 3) พัฒนาด้านปัญญา เพื่อพัฒนาเด็กนักเรียนให้มีความสามารถมีพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย (ศีล) อารมณ์ (สมาธิ) จิตใจ (สมาธิ) สังคม (ศีล) และสติปัญญา (ปัญญา) ตามศักยภาพของตนเอง มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง และมีวินัยปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
นรรัชต์ ฝันเชียร. (2563). มารู้จักหลักการสอน 9 ขั้นของกาเย่ (Gagne). แหล่งที่มา https://www.trueplookpanya.com/education/content/82909/-teamet- สืบค้นเมื่อ 23 ม.ค. 2562.
พรพิมล พรพีระชนม์, (2550). การจัดกระบวนการเรียนรู้. สงขลา: เทมการพิมพ์สงขลา.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2539). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2542). การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2543). ความคิด แหล่งสำคัญของการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2536). เพื่ออนาคตของการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 10.กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์.พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2556). ปรัชญาการศึกษาของไทย ภาคพุทธธรรม: แกนนำการศึกษา (ภาคต้นของหนังสือ ปรัชญาการศึกษาของไทย). กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2530). ทางสายกลางของการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ พรินติ้งกรุ๊ฟ.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข, (2549). ทักษะ 5C เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย.
รังสรรค์ บุษยะมา. (2550). การจัดการการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. พิมพ์ครั้งที่7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริบูรณ์ สายโกสุม. (2542). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3 ปรับปรุงใหม่. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อารี พันธ์มณี. (2544). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ต้นอ้อ.
อำนาจ บัวศิริ. (2561). กระบวนการสร้างภาวะผู้นำด้วยหลักไตรสิกขา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 5(3). 26-27.