เครือข่ายนโยบายกับการค้าชายแดนไทยลาว

Main Article Content

วรวุฒิ จำลองนาค

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ต้องการศึกษาเครือข่ายนโยบายการค้าชายแดนระหว่างไทยกับลาว โดยใช้วิธีการศึกษาในเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการการทบทวนวรรณกรรมแบบบรรยาย โดยใช้แนวคิดเครือข่ายนโยบายเป็นกรอบในการวิเคราะห์ ผลจากการศึกษาพบว่า ตัวแสดงที่มีบทบาทในเครือข่ายนโยบายการค้าชายแดนระหว่างไทยกับลาวในทุกฐานข้อมูลได้แก่ ผู้ค้ารายใหญ่ ผู้ค้ารายย่อย เจ้าหน้าที่ศุลกากร/เจ้าหน้าที่ของรัฐอื่นๆและผู้ซื้อสินค้า ในขณะที่ตัวแสดงที่มีบทบาทรองลงมาได้แก่ แรงงานรับจ้างแบกหามส่งสินค้าขึ้นลงจากด้านบนของตลิ่งของแม่น้ำโขง ผู้ประกอบการเรือยนต์ขนส่งสินค้า และผู้นำชุมชน และตัวแสดงที่มีบทบาทน้อย ได้แก่ ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อเสนอแนะจากการศึกษาคือ คือ ประการแรก รัฐบาลไทยควรจะมีบทบาทในการส่งเสริมการค้าชายแดนไทย-ลาวให้มีมากขึ้น โดยเพาะการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ประการที่สอง รัฐบาลควรมีการพัฒนาระบบการทำงานชองเจ้าหน้าศุลกากรหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อเอื้ออำนวยในการการค้าระหว่างทั้งสองประเทศ


วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
* Corresponding author: worrawoot.j@msu.ac.th

Article Details

How to Cite
จำลองนาค ว. (2025). เครือข่ายนโยบายกับการค้าชายแดนไทยลาว. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 11(2), 1–13. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2024.23 (Original work published 31 ธันวาคม 2024)
บท
บทความวิจัย

References

กรมการค้าต่างประเทศ. (2563). สถานการณ์การค้าชายแดนไทยลาว. [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.itd.or.th/wp-content/uploads/2020/10/itdevent30102020-02.pdf

กรมการค้าต่างประเทศ. (2565). ข้อมูลการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศลาว (ม.ค.-ธ.ค. 2565). [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://rb.gy/vdvqra

จักรกริช สังขมณี. (2555). ชุมทางการค้ากับการสร้าง/สลายเส้น แบ่งพรมแดน: มานุษยวิทยาปริทัศน์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 24(1-2), 17-61.

ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์. (2561). เครือข่ายนโยบายปัญหาหมอกควันในพื้นที่ โครงการพัฒนาดอยตุง(พื้นที่ทรงงาน)อันเนื่องมาจากพระราชดำริ. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 8(3), 128-142.

ฐานเศรษฐกิจออนไลน์. (2565, 2065-09-01). ค้าชายแดนสัญญาณดี ครึ่งปีค้าลาวโต 42.7%. [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.thansettakij.com/economy/trade/538777

เทพรักษ์ สุริฝ่าย และ ลำปาง แม่นมาตย์. (2561). บทบาทการค้าชายแดนในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน กรณีศึกษา จังหวัด หนองคาย จังหวัดนครพนม และจังหวัด มุกดาหาร. วารสารการเมืองการปกครอง, 8(1), 153-176.

เนตรดาว เถาถวิล และ พฤกษ์ เถาถวิล. (2563). เครือข่ายการค้าข้ามพรมแดนในพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 11(1), 215-244.

แนวหน้าออนไลน์. (2566, 2566-02-03). เร่งเปิดด่านหนองคาย-เวียงจันทน์ ฟื้นการค้าชายแดนท่องเที่ยวไทย-ลาว. [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2566 จากhttps://www.naewna.com/business/

ประชาชาติออนไลน์. (2566, 2566-01-28). จุรินทร์ เผยค้าชายแดน-ผ่านแดน ปี 65 มีมูลค่า 1,790,520 ล้านบาท โต1.44%. [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.prachachat.net/

economy/news-1189329

พระครูรัตนสุตาภรณ์. (2560). รายงานวิจัย สี่แยกอินโดจีน: กระบวนการและกลไก การขับเคลื่อนเครือข่ายทางสังคมกับ การพัฒนาเชิงพื้นที่ในจังหวัดพิษณุโลก. พระนครศรีอยุธยา: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระชยานันทมุนี, พระครูสิริสุตานุยุต, พูนทรัพย์ เกตุวีระ พงศ์, สมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์ และฤทธิ์ชัย แกมนาค. (2563). การเสริมสร้างเครือข่ายการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนใน ล้านนา. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(3), 215-228.

พระมหาไกสร แสนวงค์, พระมหาอรรคพล คงต้น, พรนฤพันธ์ สมเจริญ และ ปิ่นปินันท์ เหลืองพิทักษ์. (2564). การเสริมสร้างเครือข่ายการพัฒนาเมือง ศิลปะเชิงสร้างสรรค์และการท่องเที่ยวใน กลุ่มจังหวัดล้านนา. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 14(1), 69-82.

มณีรัตน์ โชติชารี, บุษกร สุขแสน และ ธนกฤต ทุริสุทธิ์. (2563). รูปแบบความร่วมมือการค้าชายแดนของผู้ประกอบการ สินค้าเกษตรไทย-ลาว จังหวัดบึงกาฬ ประเทศไทยและแขวงบอลิคำไชสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(2), 50-65.

วรัญญู เสนาสุ และ ธัชณวัฒน์ พิริยธนพัทธุ์. (2562). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับนโยบาย การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: บทวิเคราะห์เครือข่ายความสัมพันธ์เชิงนโยบาย. Thai Journal of East Asian Studies, 23(2), 248-259.

สุดารัตน์ ศรีอุบล และ จักรพันธ์ ขัดชุ่่มแสง. (2561). บทบาททางเศรษฐกิจข้ามพรมแดนของผู้ค้าลาวรายย่อยภายใต้การพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. Paper presented at the การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. [ออนไลน์] ค้นเมื่อ

กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://app.gs.kku.ac.th/gs/th/publicationfile/item/19th-ngrc-2018/HMO3/HMO3.pdf

อลงกต สารกาล. (2563). ความสำเร็จของการบริหารจัดการ ปกครองท้องถิ่นบนฐานเครือข่ายความ ร่วมมือ: บทเรียนจากโครงการการจัด ระบบบริการรองรับสังคมผู้สูงอายุในเขต เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วารสารการจัดการภาครัฐและเอกชน, 27(2), 27-27.

อิศเรศ คันสนีย์วิทยกุล. (2556). การศึกษาวิเคราะห์ นโยบาย การส่งเสริม กิจการเพื่อสังคมโดยใช้ตัวแบบเครือข่าย นโยบาย. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 11(2), 39-57.

Ahmed, T., Mekhilef, S., Shah, R., & Mithulananthan, N. (2017). Investigation into transmission options for cross-border power trading in ASEAN power grid. Energy Policy, 108, 91-101. https://doi.org/https://doi.org/10.1016/j.enpol.2017.05.020

Baird, I. G. (2022). Political violence, migration, lack of citizenship, and agrobiodiversity loss in the borderlands of Thailand and Laos. Geoforum, 128, 263-275. https://doi.org/https://doi.org/10.1016/j.geoforum.2021.02.018

Bochaton, A. (2015). Cross-border mobility and social networks: Laotians seeking medical treatment along the Thai border. Social Science & Medicine, 124, 364-373. https://doi.org/https://doi.org/10.1016/j.socscimed.2014.10.022

Elsing, S. (2019). Navigating Small-Scale Trade Across Thai-Lao Border Checkpoints: Legitimacy, Social Relations and Money [Article]. Journal of Contemporary Asia, 49(2), 216-232. https://doi.org/10.1080/00472336.2018.1551559

Hayakawa, K., Keola, S., Sudsawasd, S., & Yamanouchi, K. (2022). Impacts of an international bridge on households: Evidence from Thailand. Journal of Asian Economics, 83, 101536. https://doi.org/https://doi.org/10.1016/j.asieco.2022.101536

Moran, M., Rein, M., & Goodin, R. E. (2008). The Oxford handbook of public policy, Oxford University Press.

Promphakping, N., Promphakping, B., Phatchaney, K., Muangsri, P., & Juntaboon, W. (2020). The evolution of wet markets in a Thai-Lao border town. Journal of Mekong Societies, 16(2), 72-95.

Rhodes, R. A. (1990). Policy networks: a British perspective. Journal of theoretical politics, 2(3), 293-317.

Rhodes, R. A., & Marsh, D. (1992). New directions in the study of policy networks. European journal of political research, 21(1‐2), 181-205.

Singkul, N., Boonmongkon, P., & Guadamuz, T. E. (2019). Emotional labor and emotion management: Power and negotiation among female laotian migrant sex workers in a karaoke bar . Asia-Pacific Social Science Review, 19(3), 108-118.

Taotawin, N. (2022). Illicit Border Trade in the Borderlands of Thailand and Lao PDR Under Trade Liberalization and AFTA. In Rethinking Asian Capitalism: The Achievements and Challenges of Vietnam Under Doi Moi (pp. 251-269). https://doi.org/10.1007/978-3-030-98104-4_11

Thatcher, M. (1998). The development of policy network analyses: From modest origins to overarching frameworks. Journal of theoretical politics, 10(4), 389-416.