TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AFFECTING TO INNOVATIVE ORGANIZATION UNDER LOEI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1

Main Article Content

Ratsuda Phomsupad
Pim-on Sod-ium

Abstract

The purposes of this research were to 1. examine the transformational leadership of the administrators of the schools. 2. investigate the innovative organization of the schools. 3. examine the relationship between the transformational leadership of the administrators and the innovative organization. 4. examine the transformational leadership of the administrators affecting to innovative organization. This quantitative research, the sample were school administrators and teachers, Sample size from Krejcie & Morgan table. Proportional stratified random sampling as position and school size were 293 people. The research tool was a 5-level scales questionnaire with a confidence value of .986. The statistics used in this study were Frequency, Percentage, Mean, standard deviation, Pearson’s Product moment correlation coefficient, Multiple Regression Analysis using Stepwise for identify the level of significance the predictive power. the results of the study revealed as 1. the transformational leadership of administrators was overall at a high level, the side with the highest average value is Inspirational motivation. 2. the innovative organization was overall at a high level, the side with the highest average value is Development human. 3. the relationship between the transformational leadership of the administrators and the innovative organization using Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient had a positive relationship with a highest level at the .01 level of significance. 4. the five aspects of the transformational leadership of the administrators could predict the innovative organization at the .01 level of significance, the most predictive variable is intellectual stimulation.

Article Details

How to Cite
Phomsupad , R., & Sod-ium, P.- on . (2023). TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AFFECTING TO INNOVATIVE ORGANIZATION UNDER LOEI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 . Journal of MCU Nakhondhat, 10(6), 254–265. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/270374
Section
Research Articles

References

กรรัตน์ อยู่ประสิทธิ. (2562). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับบรรยากาศส่งเสริมนวัตกรรมของทีมงานที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร. ใน วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กันทิมา ชัยอุดม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

กัมปนาท ศรีเชื้อ. (2565). นโยบายสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. เรียกใช้เมื่อ 1 กันยายน 2565 จาก https://loei1.go.th/?p=3036

กิตติศักดิ์ บุณรังศรี. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณทิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

กิติศักดิ์ ปัญโญ และคณะ. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 13(38), 135-147.

ชวน ภารังกูล. (2556). การศึกษาความเป็นองค์กรนวัตกรรมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดราชบุรี. ใน รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง.

ชารวี บุตรบำรุง และคณะ. (2558). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 18(3), 80-89.

ฐากูร อนุสรณ์พาณิชกุล. (2563). รูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และการจัดการนวัตกรรมที่มีผลต่อความสำเร็จวิสาหกิจชุมชน ในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 9(2), 14-24.

ธัญรดี หิรัญกิตติกร และคณะ. (2565). การศึกษาความต้องการความเป็นองค์กรนวัตกรรมของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 12(2), 266-277.

บุญอนันต์ พินัยทรัพย์. (2555). องค์กรแห่งนวตักรรมการปรับตัวขององค์กรภาครัฐในทศวรรษ. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 2(15), 71-93.

ปานชนก ด้วงอุดม. (2562). การศึกษาสภาพการเป็นองค์กรนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

พนิดา ตระหง่าน และคณะ. (2564). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาอำเภอเมืองปทุมธานีสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(2), 189-201.

พิกุล ปัทมาตร. (2556). การศึกษาระดับปฏิบัติด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม(มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(3), 157-168.

ฤทธิชัย บัลลังค์. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนอำเภอแก่งหางแมว สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรวงค์ รักเรืองเดช. (2564). งานแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการศึกษา (Thailand Education Technology Expo 2021. เรียกใช้เมื่อ 4 กันยายน 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com /social/977893

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565). นโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565. เรียกใช้เมื่อ 11 กันยายน 2565 จาก https://www.moe.go.th/

อนุพงษ์ ชุมแวงวาปี. (2560). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

อนุภาพ พันชำนาญ. (2560). ภาวะผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงและการสร้างนวัตกรรม. เรียกใช้เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566 จาก http://www.happy-training.com/

อัฒนศักดิ์ สิทธิ. (2561). องค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

อุทุมพร จันทร์สิงห์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่าภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กับการทำงานเป็นทีมในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Asiedu, M. A., et al. (2020). Factors Influencing Innovation Performance in Higher Education Institutions. Retrieved September 4, 2022, from https://www.researchgate.net/publication /341164898_Factors_influencing_innovation_performance_in_higher_education_institutions

Nancy, M. (2020). Leadership and Innovation in a Special Education School. Educational Leadership and Administration: Teaching and Program Development. Eric Journal Articles Reports, 33(1), 56-69.

Salika. (2022). knowledge sharing space. Retrieved September 4, 2022, from https://www.salika.co /2019/11/14/change-and-coping-with-change/

Suhana, S., et al. (2019). Ph.D. Transformational Leadership and Innovative Behavior: The Mediating Role of Knowledge Sharing in Indonesian Private University. International Journal of Higher Education, 8(6), 15-25.