SAFETY MANAGEMENT IN SURATTHANI RAJABHAT UNIVERSITY
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research article were to: 1) study the opinion level of safety management in Suratthani Rajabhat University, 2) to study the personal information of students affecting safety management in Suratthani Rajabhat University, and 3) to compare safety management classified personal information of Suratthani Rajabhat University students. Is a qualitative research, Data collected by questionnaires from 390 Suratthani Rajabhat University students, then using simple random sampling from students studying at Suratthani Rajabhat University, academic year 2018. The research results were as follows: 1) Safety Management in Suratthani Rajabhat University is moderate, 2) Personal information of students including gender, education level and residences Affects the safety management in Surathanit Rajabhat University statistically significant at 0.01 level, 3) The results of the comparison of safety management classified personal information revealed that students of different gender It affects the safety management differently. With statistical significance at the 0.05 level and students of different residences It affects the safety management differently. With statistical significance at 0.01 levels. The students of different ages, education levels, and semesters Affects the safety management Overall, no difference.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
พัชรินทร์ เนตรไสว. (2557). การศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (2561 (ก)). กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จับมือภาครัฐสร้าง Campus Safety Zone เน้นความปลอดภัยนักศึกษา มรส. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2564 จาก http://stu.sru.ac.th/2018/03/27/student-development-division- surat-thani-rajabhat-university-join-the-government-to-create-campus-safety-zone/
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (2561 (ข)). ปรัชญา/วิสัยทัศน์/พันธกิจ. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2564 จาก http://www.sru.ac.t.university-info/philosophy-vision-missions.html
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (2562). สรุปจำนวนนักศึกษาปีการศึกษา 1/2561. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2564 จาก http://regis.sru.ac.th
ระวิวรรณ หิรัญสุนทร. (2555). ทัศนะของนิสิตต่อการจัดดำเนินการด้านความปลอดภัยในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิริพรรณ เกตุแก้ว และปองสิน วิเศษศิริ. (2557). การดำเนินการรักษาความปลอดภัยตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมของโรงเรียนประถมศึกษา. วารสารทางอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(3), 170-180.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). คู่มือข้อปฏิบัติและมาตรการในการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). การใช้สถิติในงานวิจัยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: สามลดา.
สุชีรา ใจหวัง และจันทรัศม์ ภูดิอริยวัฒน์. (2561). การศึกษาการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วารสารบริหารการศึกษา มศซ, 15(28), 50-61.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed). New York: Harper and Row.