A GUIDELINE FOR THE COMMUNITY MENTAL HEALTH CLINIC DEVELOPMENT USING FOLK WISDOM UNDER LANNA MEDICAL CONTEXT

Main Article Content

Suwasin Polnarat
Pranee Kamkaew
Duangnapa Danboonchant
Tanyalak Pukhamsuk
Wannaporn Suriyakhup

Abstract

          The objectives of this research article was to determine a guideline for the community mental health clinic development with folk wisdom under Lanna medical context. This was documentary research related to concept of life and mind based on Buddhist philosophy and folk wisdom of Lanna medicine, with thematic analysis. The results revealed that the development of community mental health clinic was based on the concept of Buddhist philosophical which perceived life as a component of body and mind with the 5 aggregates including corporeality, sense, sensation, perception and mental formation. Also, Lanna medicine with culture, tradition and beliefs viewed ways of life, which emphasized the relationship among human and nature, supernatural, and Buddhist beliefs, and healthcare as a holistic body - and - mind concept. This provided 4 active activities for a productive guideline of the community mental health clinic which was comprised: 1) counseling: caring by talking and listening, 2) recreation: using community culture activities to be instrument for treatment, 3) meditation therapy: staying focus until experiencing peace of mind, and 4) rituals therapy: using local - cultural rituals to help peacefully accept reality and gain peace of mind. This guideline could be developed as an alternative for mental health care with folk wisdom in a particular socio - cultural context for each community.

Article Details

How to Cite
Polnarat, S., Kamkaew, P., Danboonchant, D., Pukhamsuk, T., & Suriyakhup, W. (2021). A GUIDELINE FOR THE COMMUNITY MENTAL HEALTH CLINIC DEVELOPMENT USING FOLK WISDOM UNDER LANNA MEDICAL CONTEXT. Journal of MCU Nakhondhat, 8(5), 162–176. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/252223
Section
Research Articles

References

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. (2556). ฤาษีดัดตนขยับกาย สบายชีวี ด้วยกายบริหารแบบไทย ฤาษีดัดตนพื้นฐาน 15 ท่า. กรุงเทพมหานคร: บริษัท โพสต์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2550). สันติวิธีกับสุขภาพ: ความรุนแรงและสันติวิธี กับการจัดการความขัดแย้งในระบบบริการสุขภาพ ใน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ (บรรณาธิการ). สุขภาพสังคม: ความขัดแย้ง ความรุนแรง กับระบบบริการสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท หนังสือดีวัน จํากัด.

จารุนันท์ เชาวน์ดี. (2559). สวยดอก: การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมหัตถศิลป์งานใบตองล้านนา. ดำรงวิชาการ, 15(2), 117-144.

จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. (2553). จิตตปัญญาศึกษา: การเรียนรู้สู่จิตสำนึกใหม่. กรุงเทพมหานคร: สวนเงินมีนา.

ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์ และคณะ. (2562). ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2. เรียกใช้เมื่อ 30 ธันวาคม 2563 2563 จาก https://www.hsri.or.th/researcher

ธวัชชัย ทำทอง. (2559). ดาราศาสตร์กับวิถีชีวิตคนล้านนา. จังหวัดลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

ธันยา นาคบุตร. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านโหราศาสตร์กับความสุขในที่ทำงานของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทย สำนักงานใหญ่ สายงานปฏิบัติการ. ใน สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ยิ่งยง เทาประเสริฐ. (2546). ตำราการแพทย์พื้นบ้านล้านนา เล่ม 4 การดูแลรักษาสุขภาพ (จิต) ด้วยพิธีกรรมบำบัดของระบบการแพทย์พื้นบ้านล้านนา (หมอเมือง). เชียงราย: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. สำนักงานภาค).

ยิ่งยง เทาประเสริฐ และกันยานุช เทาประเสริฐ. (2547). ตำราการแพทย์พื้นบ้านล้านนา สาขาหมอพิธีกรรมบำบัดตำราการแพทย์พื้นบ้านล้านนา สาขาหมอพิธีกรรมบำบัด. จังหวัดเชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย .

รัชนี ศรีตะวัน. (2549). พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในผู้ที่เป็นโรคจิตเภทในคลินิกจิตเวช โรงพยาบาลสุโขทัย. ใน สารนิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช. มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.

วิชัย โชควิวัฒน. (2551). ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

ศุทรา เอื้ออภิสิทธิ์วงศ์ และคณะ. (2560). การส่งเสริมสุขภาพจิต: แนวคิด หลักฐาน และแนวทางปฏิบัติ. จังหวัดเชียงใหม่: หจก.วนิดาการพิมพ์.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2558). จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา. เรียกใช้เมื่อ 30 เมษายน 2563 จาก https://www.watnyanaves.net/th

สมลักษมิ์ นิ่มสกุล และคณะ. (2546). คู่มือการดูแลรักษาสุขภาพโดยภูมิปัญญาด้านอาหารการกินของชาวล้านนา. ใน รายงานการวิจัยศูนย์ประสานงาน สกว. ภาค เขตเชียงราย - พะเยา - ฝาง. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุภาพร คชารัตน์. (2560). จาก “สุขภาพ” สู่ “สุขภาวะ” : การปฏิรูประบบสุขภาพของวงการสาธารณสุขไทย. Veridian E - Journal, Silapakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 102), 2803-2819.

อุไรวรรณ พลจร. (2558). ผลของการสวดมนต์แบบพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับเคมีบำบัด. ใน วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่. มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์.