SYNTHESIS OF RESEARCH ON COMMUNITY’S PARTICIPATION IN SOCIAL SERVICE MANAGEMENT FOR THE ELDERLY

Main Article Content

Suthida Changprachak

Abstract

          This study aimed to synthesize research papers on community’s participation in social service management for the elderly in two areas general information and research results. Qualitative synthesis methodology and documentary research were applied. The data were collected from 29 theses and research papers publicized from B.E. 2544 to B.E. 2562. The research tools included data record forms, and research result records. The study revealed that 1) most of the research papers are theses published during B.E. 2557 to B.E. 2562. Most of which were conducted in the form of action research followed by participatory action research, qualitative research, mix methodology research and quantitative research respectively. The samples are the elderly in the communities. 2) Regarding research results, the study indicated that 1) the community’s participation in social service management consisted of identifying problems, planning, progressing, and following and evaluating. 2) Most of the social services were projected onto health cares followed by provision of job opportunities and incomes, education, recreation, and general social services. 3) Factors supporting social service management included the strength of the community and the elderly, complete participation of all stakeholders, and effective project management. 4) Problems and obstacles were that the elderly normally have health and economic inadequacy, communities have been highly urbanized, and the services provided did not respond the elderly’s needs. As a consequence, all the involved sectors have to offer opportunities and encourage the elderly to take part in every step of social service management to improve its potential and find a proper pathway to the social service management responding the needs of the elderly.

Article Details

How to Cite
Changprachak, S. (2021). SYNTHESIS OF RESEARCH ON COMMUNITY’S PARTICIPATION IN SOCIAL SERVICE MANAGEMENT FOR THE ELDERLY. Journal of MCU Nakhondhat, 8(2), 240–253. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/250501
Section
Research Articles

References

กมลชนก ขำสุวรรณ และมาดี ลิ่มสกุล. (2560). คุณค่าของผู้สูงอายุในระบอบของความเป็นจริง: ความท้าทายของนักวิจัยด้านสังคมศาสตร์ในปัจจุบัน. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 25(1), 133-156.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2560). มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง สังคมสูงอายุ . (ฉบับปรับปรุง) กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2551). พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546. เรียกใช้เมื่อ 8 ธันวาคม 2563 จาก http://law.m-society.go.th/law2016/law/view/88

กัลยา สุทิน. (2551). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงอายุตำบลบ้านชะอวด อำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

จีระนันท์ พันธ์ทอง. (2560). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนบ้านไทยสามัคคีธรรม ตำบลโนนสำราญ อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา. ใน วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จุไรรัตน์ ดวงจันทร์ และคณะ. (2557). การถอดบทเรียนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลธงชัย. ใน รายงานวิจัย. วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี.

ณัฐวุฒิ ชูเชื้อ. (2559). การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เทศบาลตำบลสิ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประยุทธ พาณิชนอก. (2553). กระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนในการเสริมสร้างคุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ชุมชนเทศบาลตำบลบ้านกรวดปัญญาวัฒน์ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2543). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปิยวรรณ เหลาสา. (2558). การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลทุ่งแสงทอง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์. ใน วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พระอธิการนรินทร์ หมื่นแสน. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ หมู่บ้านทุ่งหลุก อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการส่งเสริมสุขภาพ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พัชรินทร์ กีรติวินิจกุล และคณะ. (2557). การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการพัฒนาอาชีพเพื่อสร้างรายได้สำหรับผู้สูงอายุ ในเทศบาลตำบลหัวทะเล อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. ใน รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

พิมพงา เพ็งนาเรนทร์. (2559). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ของผู้สูงอายุ. ใน รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

แพรววิภา รัตนศรี. (2560). รูปแบบการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้านสระแก้ว ตำบลสระแก้ว อำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น. ใน วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์ และยุวดี รอดจากภัย. (2557). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยใช้ การมีส่วนร่วมของชุมชน. ใน รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยบูรพา.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. นครปฐม: บริษัท พริ้นเทอรี่.

. (2563). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิไลพร อาจมนตรี และคณะ. (2559). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการสร้างเขื่อนในประเทศไทย. วารสารวารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 10(2), 51-60.

เศรษฐพงศ์ จ่าตา. (2548). การวางแผนส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนบ้านท่าศาลา ตำบลท่าศาลา อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น. ใน วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). รายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2560. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). รายงานการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2583 (ฉบับปรับปรุง). (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

หมัดเฟาซี รูบามา และกฤษดา มงคลศรี. (2562). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เรียกใช้เมื่อ 23 มกราคม 2562 จาก http://www.hu.ac.th/

อะเคื้อ กุลประสูติดิลก. (2560). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่อยู่รอบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ใน รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.