การสังเคราะห์หลักธรรมาภิบาลผ่านพุทธธรรม เพื่อการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร
Main Article Content
บทคัดย่อ
หลักธรรมาภิบาลถือว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการปกครอง การบริหาร การจัดการควบคุมดูแลกิจการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามครรลองครองธรรม และการบริหารจัดการที่ดีสามารถนำไปใช้ได้ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หลักธรรมที่แฝงในการบริหารนี้ ซึ่งมีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรม ซึ่งคนในองค์กรพึงปฏิบัติ เช่น ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ สิ่งเหล่านี้ถือได้ว่านำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรได้อย่างดี เมื่อคนในองค์กรปฏิบัติตามก็จะเกิดเป็นพฤติกรรมหรือแนวการปฏิบัติ จนกลายมาเป็นค่านิยม และท้ายสุดกลายมาเป็นวัฒนธรรมองค์กร เช่น คนในองค์กรต่างทำงานอย่างซื่อสัตย์ สุจริต และขยันหมั่นเพียร ทำให้องค์กรพัฒนาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และส่งผลให้บุคคลนอกองค์กรเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธาในองค์กร อันทำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
Article Details
How to Cite
ดีเยี่ยม พ. ส. (2018). การสังเคราะห์หลักธรรมาภิบาลผ่านพุทธธรรม เพื่อการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 5(3), 488–504. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/154199
บท
บทความวิชาการ
References
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปะศาสตร์. (2547). พฤติกรรมองค์การและการจัดการตลาด พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ . กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นท์ (1991).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . (2556). ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่ 2 ทศศตวรรษ . กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ .
สุธาสินี วรรณเจริญ. (2555). การพัฒนาการทำงานเป็นทีมของบุคลากร กรณีศึกษา: องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม ตำบลแม่กลอง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อำพร ไตรภัทร. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2550). วัฒนธรรมองค์กรที่พึงประสงค์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 . ขอนแก่น: สารวารการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Daft, R.L. (26 August 2018). The Leadership Experience. เข้าถึงได้จาก
Kluckhohn & Kelly, W.H. (1945). The concept of culture . New York: In R. Linton (Ed.) The Science of Man in the World Culture. Columbia University .
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปะศาสตร์. (2547). พฤติกรรมองค์การและการจัดการตลาด พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ . กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นท์ (1991).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . (2556). ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่ 2 ทศศตวรรษ . กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ .
สุธาสินี วรรณเจริญ. (2555). การพัฒนาการทำงานเป็นทีมของบุคลากร กรณีศึกษา: องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม ตำบลแม่กลอง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อำพร ไตรภัทร. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2550). วัฒนธรรมองค์กรที่พึงประสงค์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 . ขอนแก่น: สารวารการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Daft, R.L. (26 August 2018). The Leadership Experience. เข้าถึงได้จาก
Kluckhohn & Kelly, W.H. (1945). The concept of culture . New York: In R. Linton (Ed.) The Science of Man in the World Culture. Columbia University .