ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ตามแนวคิดกรอบความคิดแบบเติบโต

Main Article Content

เมียวดี ดีพูน
สุกัญญา แช่มช้อย

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ตามแนวคิดกรอบความคิดแบบเติบโต ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย จำนวน 285 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครูโรงเรียนกลุ่มที่ 5 ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) 0.67-1.00 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ตามแนวคิดกรอบความคิดแบบเติบโต ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.548) และอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.690) ตามลำดับ และด้านที่มีความต้องการจำเป็นสูงสุดคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร (PNImodified=0.321) รองลงมาคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน (PNImodified=0.312) และด้านการวัดและประเมินผล (PNImodified=0.307) ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
ดีพูน เ., & แช่มช้อย ส. (2022). ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ตามแนวคิดกรอบความคิดแบบเติบโต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 8(2), 265–280. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/262986
บท
บทความวิจัย

References

กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550, (2550, 16 พฤษภาคม 2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 124 ตอนที่ 24 ก, หน้า 29-30.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.

เครือข่ายนักประชาสัมพันธ์ สพม.1. (2563). สพม.1 ประชุมรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ และหัวหน้างานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนที่ 5. คนเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/media/set/?set=oa.2884964778281342&type=3

ฆนัท ธาตุทอง. (2550). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.

จรุณี เก้าเอี้ยน. (2556). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา: กลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.

จามจุรี จำเมือง. (2552). คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคง.

บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2544). การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. (2542, 19 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 116ตอนที่ 74 ก, หน้า 3.

ภัทรพร กังวานพรชัย. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมในงานและความพึงพอใจในงานโดยมีรูปแบบการเผชิญปัญหาเป็นตัวแปรส่งผ่านและกรอบความคิดแบบยึดติด-เติบโตเป็นตัวแปรกำกับ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยามีละห์ เจ๊ะซอ. (2560). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 3 วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.

ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา. (2558). Mindset กรอบความคิด. กรุงเทพฯ: ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยวสถิรคุณ.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (ม.ป.ป.). ผลการประเมินคุณภาพภายนอก. คนเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564, จาก http://aqa.onesqa.or.th/SummaryReport.aspx

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุรศักดิ์ ศิริ. (2550). รายงานการศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ธารอักษร.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค.

อรรถชัย ศรีวรภัทร. (2563). แนวทางการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ตามกรอบความคิดแบบเติบโต. วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา, 3(3): 40-63.

Blackwell, L.A., Trzesniewski, K.H., & Dweck, C. S. (2007). Theories of intelligence and achievement across the junior high school transition: A longitudinal study and an intervention. Child Development, 78(1): 246-263.

Conbach, L. Joseph. (1984). Essential of Psychology and Education. New York: Mc–Graw Hill.

Dweck, C. S. (2006). Mindset: The new psychology of success. New York: Random House.

Illinois Center for School Improvement. (2016). Habits of Mind - Developing a Growth Mindset. Retrieved on March 20th, 2021 from https://revivingschools.org/wp.../Learning-Snapshot-Developing-a-Growth-Mindset.pdf

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Education and Psychological Measurement. 30(3): 607-610.

Lee, Y.H., et al. (2012). Gaming Mindset: Implicit Theories in Serious Game Learning. Cyberpsychology, Behavior, and Social Networking, 15(4): 190-194.

Nussbaum, A.D. and Dweck, C.S. (2008). Defensiveness Versus Remediation: Self Theories and Modes of Self-esteem Maintenance. Personality and Social Psychology Bulletin, 34(5): 599-612.

Swann, W., & Snyder, M. (1980). On translating beliefs into action: Theories of ability and their application in an instructional setting. Journal of Personality and Social Psychology, 38(6): 879-888.