การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการของโรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานครตามตามแนวคิดการเรียนรู้ไฮสโคป
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการของโรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานครตามตามแนวคิดการเรียนรู้ไฮสโคป โดยใช้กรอบการบริหารวิชาการร่วมกับกรอบการเรียนรู้ไฮสโคป ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ คือ 1) การวางแผน (Plan) 2) การปฏิบัติ (Do) และ 3) การทบทวน (Review) กลุ่มตัวอย่างที่วิจัย คือ โรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 71 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความต้องการจำเป็น ซึ่งมีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความครอบคลุมและความเหมาะสม (The Index of Item-Objective Congruence: IOC) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีค่า IOC ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลำดับความต้องการจำเป็น
ผลการวิจัย พบว่า ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการของโรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานครตามแนวคิดการเรียนรู้ไฮสโคป ด้านที่มีลำดับความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร (PNImodified=0.211) องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ การปฏิบัติ (PNImodified=0.219) รองลงมา คือ ด้านการประเมินพัฒนาการ (PNImodified=0.192) องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นสูงที่สุดคือการปฏิบัติ (PNImodified=0.195) รองลงมา คือ ด้านการจัดประสบการณ์ (PNImodified=0.186) องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นสูงที่สุดคือการทบทวน (PNImodified=0.196) และด้านที่มีลำดับความต้องการจำเป็นต่ำที่สุด คือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และแหล่งเรียนรู้ (PNImodified=0.178) องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นสูงที่สุดคือการทบทวน (PNImodified=0.196)
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ก). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ข). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กองทุนสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง. (2561). แบบรายงานการดำเนินงาน เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61. ค้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2563, จาก http://localfund.happynetwork.org/project/finalreport/24442?download=word
กิติมา ปรีดีดิลก. (2551). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษรพิพัฒน์.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2559). ดีจริงหรือ!!! ที่เร่งอ่าน เขียน คณิตในเด็กอนุบาล. ค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.kriengsak.com/node/1303
ชนิษฐา จำเนียรสุข. (2560). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดความพร้อมในการเข้าเรียนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวีศักดิ์ หงษ์เจริญ. (2563). ความต้องการจำเป็นของการบริหารโรงเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ จังหวัดสระแก้วตามแนวคิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน. วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา, 3(1): 40-60.
นภเนตร ธรรมบวร. (2551). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2543). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พัชรา พุ่มพชาติ. (2560). การพัฒนาเด็กปฐมวัยในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
วรนาถ รักสกุลไทย. (2555). รวมนวัตกรรมทฤษฎีการศึกษาปฐมวัยสู่การประยุกต์ใช้ในห้องเรียน. กรุงเทพ: สาราเด็ก.
วาสนา มากแก้ว. (2561). แนวทางการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนอนุบาลระนอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และ บุษบง ตันติวงศ์. (2559). การประเมินอย่างใคร่ครวญต่อเด็กปฐมวัย แนวคิดและการปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย. (2560ก). การพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม. กรุงเทพฯ: พลัสเพรส.
สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย. (2560ข). การส่งเสริมความสามารถทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: พลัสเพรส.
สมาน อัศวภูมิ. (2551). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่: แนวคิด ทฤษฎีและการปฏิบัติ. อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซท.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). คนรุ่นใหม่กับการสร้างประชากรที่มีคุณภาพ. รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาสสาม ปี 2561 Social Situation and Outlook, 16(4): 19.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย : ตามแนวคิดไฮสโคป. กรุงเทพฯ: วีทีซี คอมมิวนิเคชั่น.
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2557). เปิดสถานการณ์เด็กปฐมวัย พบ 1 ใน 3 พัฒนาการล่าช้า. ค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.thaihealth.or.th
อุทัย บุญประเสริฐ. (2540). หลักสูตรและการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน. กรุงเทพฯ: เอส ดี เพรส.
Heckman, J., & etc. (2010). The rate of return to the Perry Preschool program. Journal of Public Economics, 94(1-2): 114–128.
Hohmann, M., & Weikart, D. P. (1995). Education Young Children: Active Learning Practices for Preschool and Child Care Programs. Ypsilanti, Mich: High/Scope Press.
Schweinhart, J. L. (1997). Child-initiated activity how important is early childhood education. Retrieved on November 4th, 2020, from https://eric.ed.gov/?id=ED413105
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.
กมล ภู่ประเสริฐ. (2544). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิปส์พับบลิเคชั่น.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ก). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ข). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กองทุนสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง. (2561). แบบรายงานการดำเนินงาน เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61. ค้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2563, จาก http://localfund.happynetwork.org/project/finalreport/24442?download=word
กิติมา ปรีดีดิลก. (2551). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษรพิพัฒน์.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2559). ดีจริงหรือ!!! ที่เร่งอ่าน เขียน คณิตในเด็กอนุบาล. ค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.kriengsak.com/node/1303
ชนิษฐา จำเนียรสุข. (2560). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดความพร้อมในการเข้าเรียนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวีศักดิ์ หงษ์เจริญ. (2563). ความต้องการจำเป็นของการบริหารโรงเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ จังหวัดสระแก้วตามแนวคิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน. วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา, 3(1): 40-60.
นภเนตร ธรรมบวร. (2551). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2543). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พัชรา พุ่มพชาติ. (2560). การพัฒนาเด็กปฐมวัยในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
วรนาถ รักสกุลไทย. (2555). รวมนวัตกรรมทฤษฎีการศึกษาปฐมวัยสู่การประยุกต์ใช้ในห้องเรียน. กรุงเทพ: สาราเด็ก.
วาสนา มากแก้ว. (2561). แนวทางการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนอนุบาลระนอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และ บุษบง ตันติวงศ์. (2559). การประเมินอย่างใคร่ครวญต่อเด็กปฐมวัย แนวคิดและการปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย. (2560ก). การพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม. กรุงเทพฯ: พลัสเพรส.
สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย. (2560ข). การส่งเสริมความสามารถทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: พลัสเพรส.
สมาน อัศวภูมิ. (2551). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่: แนวคิด ทฤษฎีและการปฏิบัติ. อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซท.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). คนรุ่นใหม่กับการสร้างประชากรที่มีคุณภาพ. รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาสสาม ปี 2561 Social Situation and Outlook, 16(4): 19.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย : ตามแนวคิดไฮสโคป. กรุงเทพฯ: วีทีซี คอมมิวนิเคชั่น.
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2557). เปิดสถานการณ์เด็กปฐมวัย พบ 1 ใน 3 พัฒนาการล่าช้า. ค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.thaihealth.or.th
อุทัย บุญประเสริฐ. (2540). หลักสูตรและการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน. กรุงเทพฯ: เอส ดี เพรส.
Heckman, J., & etc. (2010). The rate of return to the Perry Preschool program. Journal of Public Economics, 94(1-2): 114–128.
Hohmann, M., & Weikart, D. P. (1995). Education Young Children: Active Learning Practices for Preschool and Child Care Programs. Ypsilanti, Mich: High/Scope Press.
Schweinhart, J. L. (1997). Child-initiated activity how important is early childhood education. Retrieved on November 4th, 2020, from https://eric.ed.gov/?id=ED413105
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.