ปัจจัยส่งเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1

Main Article Content

เกียรติยศ ศุภชัยรัตน์
ชวลิต เกิดทิพย์

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่งเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูที่ทำกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 จำนวน 284 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบ Likert ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ


ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 ประกอบด้วย 7 ปัจจัย คือ 1) การสื่อสารเพื่อแรงบันดาลใจ 2) เครือข่ายร่วมคิดแลกเปลี่ยน 3) โอกาสเรียนรู้ร่วมกันอย่างเต็มใจ 4) ท้าทายต่อแนวปฏิบัติใหม่ 5) โปร่งใสและไว้วางใจ 6) ความเชื่อมั่น 7) ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง

Article Details

How to Cite
ศุภชัยรัตน์ เ., & เกิดทิพย์ ช. (2021). ปัจจัยส่งเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 7(3), 193–209. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/257350
บท
บทความวิจัย

References

ชโลบล นับแสง. (2560). การสื่อสารเพื่อจูงใจของผู้นำและวัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 10 (1): 411.

ธงชัย คำปวง. (2561). การพัฒนาครูแบบองค์รวมโดยการเทียบเคียงสมรรถนะ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ธนภัทร จันทร์เจริญ. (2562). การจัดการเรียนรู้สู่การศึกษาไทย 4.0. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 13 (3): 222.

นฤมล จิตรเอื้อ. (2560). บทบาทภาวะผู้นำในการพัฒนาองค์การสู่งองค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 10 (2): 1752.
นิเวศน์ วงศ์สุวรรณ และ อินถา ศิริวรรณ. (2560). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 4 (1): 179.

พงษ์เทพ จันทสุวรรณ. (2562). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำแรงบันดาลใจ วัฒนธรรมองค์การ องค์การแห่งการเรียนรู้ และประสิทธิผลองค์การในบริบทของศาลยุติธรรม. วารสารสมาคมนักวิจัย. สมาคมนักวิจัยแห่งประเทศไทย, 24 (1): 18.

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2561). วิเคราะห์องค์ประกอบของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 11 (3): 2779.

วรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2557). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บริบทโรงเรียนในประเทศไทย. ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วาสนา ปุริโส. (2559). การพัฒนาภาวะผู้นำครูในโรงเรียนน้ำตกสวนพลู: การวิจัยปฏิบัติการมีส่วนร่วม. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10 (4): 123.
วาสนา มะณีเรือง และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 4 (2): 264.

วิภาพรรณ พินลา. (2560). การศึกษาผลการเรียนรู้วิชาสัมมนาสังคมศึกษา และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนิสิตปริญญาตรี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยกับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19 (2): 40-53.

ศุภวัตร มีพร้อม. (2557). ภาวะผู้นำพลังบวกกับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมบริการ กรณีศึกษา การสร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ. มหาวิทยาลัยศิลปากร, 7 (3): 878.

สมาพร มณีอ่อน. (2560). กลยุทธ์การนำกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ไปใช้ในโรงเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 15 (1): 32.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2561). แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร). กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สภาวะการศึกษาไทยปี 2557/2558 จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันโลกในยุคศตวรรษที่ 21 อย่างไร. สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

เสกสรร วัฒนพงษ์. (2542). ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการประสานงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวงกับเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรในเขตพื้นที่ทางหลวงหมายเลข 34 (บางนา-บางประกง). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อมรรัตน์ วัฒนาธร. (2550). การจัดการความรู้กับงานพัฒนา “ครู” ที่คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9 (3): 119-125.

Colquitt, J. A., Baer, M. D., Long, D. M., & Halvorsen-Ganepola, M. D. K. (2014). Scale indicators of social exchange relationships: A comparison of relative content validity. Journal of Applied Psychology, 99 (4): 599-618.

Hair, J. F. Jr. Black, W. C., Babin, B. J. Anderson, R. E. and Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis. 6th ed. New Jersey: Prentice Hall.

Harden, G. (2012). Knowledge sharing in the workplace: a social networking site assessment. 45th Hawaii International Conference on System Sciences. doi: 10.1190/hicss 2012.408.

House, R. J., Spangler, W. D. & Woycke, J. (1991). Personality and charisma in the U.S. presidency: A psychological theory of leader effectiveness. Administrative Science Quarterly, 36: 364–396.

Muchinsky, Paul M. (2000). Psychology Applied to Work: An Introduction to Industrial and Organizational Psychology. Australia: Wadswort.

Sergiovanni, T. (1994). Building community in schools. SanFrancisco, CA: Jossey Bass.