ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศภายในกับทักษะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี

Main Article Content

อานนท์ สิงห์จุ้ย
สมชัย พุทธา

บทคัดย่อ

 


 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการนิเทศภายในวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี 2) เพื่อศึกษาระดับทักษะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศภายในกับทักษะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้าแผนกวิชา และ ครูวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี จำนวน 132 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 99 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน


ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการนิเทศภายในวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรีโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าสูงที่สุด คือ วางแผนการนิเทศ อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ลงมือปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก และต่าที่สุด คือ สร้างเสริมกาลังใจ อยู่ในระดับมาก 2) ทักษะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรีโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าสูงที่สุด คือ วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ วิเคราะห์กระบวนการประเมินผล อยู่ในระดับมากที่สุด และต่ำที่สุด คือ วิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศภายในกับทักษะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรีโดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกอยู่ในระดับต่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Article Details

How to Cite
สิงห์จุ้ย อ., & พุทธา ส. (2018). ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศภายในกับทักษะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3(3), 130–142. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/112633
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2002. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

นูรีนา บือราเฮง. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในโรงเรียนกับพฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อิสลามศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ภควัต เทศน์ธรรม. (2552).ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพการนิเทศภายในสถานศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

วนิดา น้อยมะลิวัน. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการนิเทศภายในโรงเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (วิจัยและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: เลิฟ แอนด์เลิฟเพรส

วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี. (2558). รายงานประเมินตนเอง. สุพรรณบุรี: วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี.

วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี. (2559). แผนปฏิบัติราชการ. สุพรรณบุรี: วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี.

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง. (2558). คู่มือการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2555). นโยบาย ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา พ. ศ. 2555 –2569. ค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2559, http://www.kasetsing. ac.th/datasos/yudtasat15year.pdf

สุจิตรา แซ่จิว. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดเทศบาลในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี.

อเทตยา แก้วศรีหา. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

อุดมสิน คำมุงคุณ. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในกับประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนประถมศึกษา ในจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

Bueraheng, N. (2009). The Relationship between the Behavior of Internal Supervision of the Teachers of Islamic Education in Secondary Schools. Office of the Narathiwat. Master of Arts Thesis (Islamic Studies). Prince of Songkla University. (in Thai)

Center for Encourage and Development of Vocational region. (2015). A Guide to Writing Lesson Plans. Bangkok: Center for Encourage and Development of Vocational region. (in Thai)

Keawsriha, A. (2015). Factors Affecting the Performance of Teachers Teaching Vocational Courses in High School. Office of the Educational Service Area 32. Master degree thesis. (Education management), Buriram Rajabhat University. (in Thai)

Kummoongkoon, A. (2007). The Relationship between the Effective Supervision of Teaching Elementary School Teacher in Nong Khai. Master degree Thesis (Education management), Udon Thani Rajabhat University. (in Thai)

Ministry of Education. (2002). The National Education,1999 and Amendment No.2 of 2545. Bangkok: Express Transportation Organization.. (in Thai)

Noimaliwan, W. (2008). Factors Related to the Internal Supervision of Teachers in Schools. Office of the Educational Service Area Loei Area 1. Master degree thesis. (Research and evaluation). Loei Rajabhat University. (in Thai)

Office of the Vocational Education Commission. (2012). Policy and Strategy for Manpower Studies, 2012 –2026. Retrieved November 25, 2016, http://www.kasetsing.ac.th/datasos/yudtasat15year.pdf. (in Thai)

Rangubpia, W. (1999). Learning and Teaching Learner-Centered. Bangkok: Love and Love Press. (in Thai)

Saechew, S. (2014). The Relationship between the Internal Supervision of the Behavior of the Teachers. under the Municipality in the Province of Rayong, Chanthaburi and Trat. Master degree thesis. (Education management), Rambhai Barni Rajabhat University. (in Thai)

Suphanburi Technical College. (2015). Self-assessment report. Suphanburi: Suphanburi Technical College. (in Thai)

Suphanburi Technical College. (2016). Action Plan. Suphanburi: Suphanburi Technical College. (in Thai)

Testam, P. (2009). The Relationship between the Internal Supervision of the Academic Achievement of Students in Secondary Schools. Office of the Educational Service Area Loei. Master thesis. (Education management). Loei Rajabhat University. (in Thai)