การศึกษาความรู้สึกร่วมในชุมชน แรงจูงใจ ทัศนคติ และพฤติกรรม ของผู้ติดตามแฟนเพจกลูต้าสตอรี่ที่มีต่อวีดิทัศน์ “นิทานหมา หมา”

Main Article Content

มณีรัตน์ สกุลนิมิตร
ธีรพล ภูรัต

บทคัดย่อ

 


 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกร่วมใน ชุมชน แรงจูงใจ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้ติดตามแฟนเพจกลูต้าสตอรี่ที่มีต่อวีดิทัศน์ “นิทานหมา หมา” และเป็นการสารวจผ่านหน้าแฟนเพจบนเฟซบุ๊กกลูต้าสตอรี่โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มผู้ติดตามแฟนเพจและเคยรับชมวีดิทัศน์ “นิทานหมา หมา” จานวน 400 คน จากนั้นผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้นด้วยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุแบบ ปกติ ผลการวิเคราะห์พบว่า ทัศนคติไม่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้ติดตามแฟนเพจอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยังพบว่าอิทธิพลโดยตรงของความรู้สึกร่วมในชุมชนต่อพฤติกรรม (P = 0.161) มีค่าน้อยกว่า อิทธิพลโดยอ้อมของความรู้สึกร่วมในชุมชนต่อพฤติกรรม (ผ่านแรงจูงใจ) (P = 0.426)

Article Details

How to Cite
สกุลนิมิตร ม., & ภูรัต ธ. (2018). การศึกษาความรู้สึกร่วมในชุมชน แรงจูงใจ ทัศนคติ และพฤติกรรม ของผู้ติดตามแฟนเพจกลูต้าสตอรี่ที่มีต่อวีดิทัศน์ “นิทานหมา หมา”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3(3), 107–117. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/112630
บท
บทความวิจัย

References

วสุพล ตรีโสภากุล. (2558). การศึกษากระบวนการและปัจจัยเชิงสาเหตุของความยึดมั่นผูกพันบนเฟซบุ๊กแฟนเพจในกลุ่มผู้บริโภคคนไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2545). หลักและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ประสิทธฺภัณฑ์แอนดฺ์พริ้นติ้ง.

อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2542). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Banyard, P., Davies, M.N.O., Norman, C. & Winder, B. (2010). Essential psychology: A concise introduction. London: Sage.

Emil Weman. (2011). Consumer motivations to join a brand community on Facebook. Unpublished thesis, Hanken School of Economics, Helsinki.

GlutaStory, Webpage. (2560). นิทานหมา หมา [Facebook]. Retrived from https://www. Facebook.com/pg/GlutaStory/videos/?ref=page_internal.

Krech, David, Crutchfield, Richard S., Ballachey & Egerton L. (1962). McGraw-Hill Individual in society. A textbook of social psychology. New York, US.

Ouwersloot, H. & Odekerken-Schroder, G. (2008). Who’s who in brand communities and why?. European Journal of Marketing. Vol.42 No.5/6 p.571-585.

Piruntaowat, A. (1999). Persuasive communication. 2nd ed. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)

Stephanie, M. R. (2010). Adolescents' sense of community on myspace and facebook: a mixed-methods approach. Journal of community psychology. Vol.6 No.38 p.688-705.

Tresopakol, W. (2016). The Study of Process and Causal Factors of Engagement on Facebook Fan Page Amongst Thai Consumers. Doctor of Philosophy in Applied Behavioral Science Research at Srinakharinwirot University. (in Thai)