การจัดการธนาคารน้ำแบบมีส่วนร่วมของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

Main Article Content

ปาโมช บุณยะตุลานนท์
ไฉไล ศักดิวรพงศ์
สากล สถิตวิทยานันท์

บทคัดย่อ

 


 


 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) แนวคิด หลักการ การดาเนินงานโดยชุมชนในการจัดการธนาคารน้า ของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 2) กระบวนการมีส่วนร่วมโดยชุมชนในการจัดการธนาคารน้า ของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 3) ผลที่เกิดจากการดาเนินงาน การจัดการธนาคารน้า ของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก นาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาศึกษาวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา


ผลการวิจัย การทาธนาคารน้าของชุมชนตะโหมด เป็นแนวคิดโดยการชะลอความเร็วการไหลของน้าให้ช้าลง และกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ไห้ไหลไปทับถมตอนล่าง ทาให้มีน้าใช้ตลอดทั้งปีทั้งภาคการเกษตรและการอุปโภคบริโภค กระบวนการมีส่วนร่วมนั้น ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการกำหนดกฎระเบียบ เพื่อให้ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ร่วมกันดูแลทรัพยากรธรรมชาติโดยการเดินสำรวจแหล่งน้า ร่วมกันปลูกต้นไม้ทดแทนบริเวณสองข้างลาห้วยที่มีการสร้างธนาคารน้าเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับสภาพป่าไม้ รวมทั้งการมีส่วนร่วมยังทำให้ชาวบ้านในชุมชนเกิดจิตสำนึก เห็นคุณค่าและรู้สึกหวงแหนในการที่จะอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในชุมชนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน

Article Details

How to Cite
บุณยะตุลานนท์ ป., ศักดิวรพงศ์ ไ., & สถิตวิทยานันท์ ส. (2016). การจัดการธนาคารน้ำแบบมีส่วนร่วมของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 2(1), 68–76. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/112387
บท
บทความวิจัย

References

กมล หอมกลิ่น. (2537). รายงานการวิจัยโครงการรูปแบบการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมล้าโดมใหญ่ ตำบลไร่ใต้ อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท. ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยอนุเคราะห์ไทย. กรุงเทพฯ.

ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. (2540). องค์การและการจัดการ, ห้างหุ้นส่วนจำกัดเทคนิค 19. กรุงเทพฯ.

สมคิด สิงสง. (2553). รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง บริหารจัดการทรัพยากรน้าต้องเริ่มจากจุลภาค วันที่ 6 สิงหาคม 2553. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

องค์การบริหารส่วนตำบลตะโหมด. (2556). คู่มือฐานข้อมูลตำบล. พัทลุง: สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลตะโหมด.

อุดม พงศ์ศรีวัฒน์ และคณะ. (2544). องค์กรชุมชนสภาลานวัดตะโหมดกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน. สำนักงานป่าไม้เขตสงขลา.