แนวคิดในการกำหนดมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองทางสังคม
คำสำคัญ:
มาตรการทางกฎหมาย, การคุ้มครองทางสังคม, การเจรจาทางสังคม, สิทธิมนุษยชน, การพัฒนาอย่างยั่งยืนบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
สิทธิในการคุ้มครองทางสังคม (Right to social security) เป็นหนึ่งในสิทธิขั้นพื้นฐานที่ได้รับการรับรองไว้ในกรอบของกฎหมายระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ค.ศ. 1966 รวมถึงข้อเสนอแนะแนวทาง (Guidelines) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ในการสร้างกรอบของการกำหนดมาตรการทางกฎหมายภายในของประเทศต่าง ๆ ให้ครอบคลุมมิติต่าง ๆ ของการประกันสิทธิของประชาชนทุกคนในการเข้าถึง และได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่เป็นธรรมและเหมาะสม
บทความนี้ นำเสนอแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองทางสังคม เพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างหนึ่งของประชาชนจะได้รับการคุ้มครอง จากการศึกษาพบว่า หากประเทศต่าง ๆ ได้นำแนวคิดในเรื่องการเจรจาทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการพัฒนาอย่างยั่งยืน มาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการในการจัดทำกฎหมายภายในประเทศ จะส่งผลในเรื่องการสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
References
ภาษาไทย
วราคม ทีสุกะ. (2527). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม.
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (2564). เศรษฐกิจไทยปี 2563 และแนวโน้มปี 2564. วันที่ค้นข้อมูล 2 มีนาคม 2565,เข้าถึงได้จาก https://www.krungsri.com/th/research/macroeconomic/weekly/weekly-210105
ภาษาอังกฤษ
Committee on economic, social, and cultural rights, General Comment no.19 The right to social security, E/C.12/GC/19 (4 February 2008) Retrieved March 5, 2022, from https://digitallibrary.un.org/record/618890
Craig, J., & Lynk, M. (ed). (2006). Globalization and the future of labor law. Cambridge: Cambridge University Press.
Dean, H. (2015). Social rights and human welfare. London: Routledge.
Freeman, M. (2017). Human Rights. Cambridge: Polity.
Fuller, L. L. (1969). The Morality of Law. London: Yale University Press International Covenant on Economic, Social, and Cultural Rights 1966.
International Labor Organization (ILO). (2012). Social security for all (Building social protection floors and comprehensive social security systems. Retrieved March 31, 2021, from https://www.ilo.org/sites/default/files/wcmsp5/groups/public/@ed_protect/@soc_sec/document s/publication/wcms_secsoc_34188.pdf
International Labor Organization (ILO). (2020). Social protection responses to the COVID-19 crisis: Country responses in Asia and the Pacific. Retrieved March 31, 2021, from https://www.ilo.org/asia/publications/WCMS_753550/lang--en/index.htm
OECD. (2020). Social dialogue and the future of work. Retrieved February 1, 2021, from https://www.theglobaldeal.com/resources/Thematic-Brief-Social-Dialogue-and-the-FoW.pdf
United Nations. (2020). Report on social impact assessment of COVID-19 in Thailand. Retrieved June 1, 2022, from https://www.unicef.org/thailand/reports/social-impact-assessment-covid-19-thailand
United Nations. (2021). The Sustainable Development Goals Report 2021. Retrieved May 31, 2022, from https://unstats.un.org/sdgs/report/2021/The-Sustainable-Development-Goals-Report-2021.pdf
Universal Declaration of Human Rights 1948.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.