คุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ผู้แต่ง

  • มณีรัตน์ ข่ายพิลาป
  • ปริยาภัทร กันกา

คำสำคัญ:

คุณภาพ, การบริการ, การเงินและบัญชี, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง คุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และเพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประกอบไปด้วย ประเภทการใช้บริการ ความถี่ในการใช้บริการ วันที่ติดต่อขอรับบริการ และช่วงเวลาการใช้บริการ โดยใช้เครื่องมือเก็บแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 64 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ใช้บริการด้านการรับเงิน ซึ่งความถี่ในการมาใช้บริการไม่เกิน 2 วันต่อสัปดาห์ ซึ่งวันที่ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะใช้บริการจะเป็นศุกร์ ในช่วงระยะเวลา 13.00 – 16.00 น. และความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า ผู้ใช้บริการมีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริการ การปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในภาพรวมมีความเหมาะสมของการให้บริการอยู่ในเกณฑ์มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเชื่อมั่นในการให้บริการด้านเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับ 1 รองลงมา คือ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านความเอาใจใส่ ด้านความเป็นรูปธรรม ด้านการตอบสนอง ตามลำดับ

References

เกษตรพันธุ์ ชอบทำกิจ. (2546).ประสิทธิภาพการบริหารงานบริการภาครัฐศึกษากรณีสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา. ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารทั่วไป, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

เกษร ศรีกุล. (2549). งานบัญชีและคุณสมบัติของผู้บริหารการเงินและบัญชี. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www2.tsu.ac.th/health_sci/main/files_sec3/3112071212201212งานบัญชีและคุณสมบัติของผู้บริหารการเงินและบัญชี (2549).pdf

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์.(2555). ความเป็นมา วิสัยทัศน์ พันธกิจ. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.polsci-law.buu.ac.th/

จิตตินันท์ เดชะคุปต์. (2549). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาบริการใมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ เอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาการบริการ หน่วยที่ 1-7. (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

จันทนา ประสงค์กิจ. (2552). คุณภาพการบริการของธนาคารกรุงศรีอยุธยาจำกัด (มหาชน) สาขาย่อยแหลมฉบังอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชลธิชา ศรีบำรุง. (2557).คุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงเทพ สาขาดอนหัวฬ่อ จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต. (2554). ทฤษฎีของคุณภาพการให้บริการ. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?pageid=4&bookID=1285&read=true&count=true

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2552). การตลาดบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

มณีรัตน์ แตงอ่อน. (2551). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทัศนคติในการรับบริการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กรณีศึกษา สำนักบริการการศึกษามหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563,เข้าถึงได้จาก http://www.research.rmutt.ac.th/?p=2960

เมธากุล เกียรติกระจาย และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2544). ทฤษฎีการบัญชี (พิมพ์ครั้งที่ 9).กรุงเทพฯ: ภาควิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2551). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: เกษตรศาสตร์.

รวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์. (2551). จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

รัชยา กุลวานิชไชยนันท์. (2535). รายงานการวิจัยเรื่องความพึงพอใจของผู้ประกันตนต่อบริการทางการแพทย์:ศึกษาเฉพาะกรณีผู้ประกันตนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. กรุงเทพฯ: สำนักงานประกันสังคม.

วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2542). คุณภาพในงานบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ประชาชน.

เบญชภา แจ้งเวชฉาย. (2559). คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้โดยสารรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสะบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปรัชญา เวสารัชช์. (2523). องค์การกับลูกจ้าง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พนิดา เพชรรัตน์. (2556). คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้เสียภาษีอากร สำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

พิสณุ ฟองศรี. (2549). วิจัยทางการศึกษาแนวคิดทฤษฎี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เทียมฝ่าการพิมพ์.

สุพัตรา สุภาพ. (2541). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุนันทา ทวีผล. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการด้านให้ค้าปรึกษาแนะนำปัญหาด้านกฎหมายของสำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ‎3‎ (สคช.). ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี.

ศิริวรรณ วุ่นจินา. (2554). ความพึงพอใจของผู้มีสิทธิ์รับเงินต่องานบริการจ่ายเงิน: กรณีศึกษากองคลังและพัสดุ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนาสังคม, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต. (2554). ตัวอย่างคุณภาพการให้บริการของภาครัฐไทย. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?pageid=9 &bookID =1285&read=true&count=true

สำนักงานชลประทานที่ 12. (2558). หน้าที่และความรับผิดชอบของงานการเงินและบัญชี. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.rio12.go.th/management/หน้าที่และความรับผิดชอบของงานการเงินและบัญชี.html

อตินุช ครุฑเดชะ. (2552). คุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขานิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (เขตประกอบการเสรี 2) จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

อนุวัฏ บรรลุทางธรรม. (2554). คุณภาพการใช้บริการรถไฟฟ้า [BTS] ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการการตลาด, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

Crosby, P. B. (1988). Quality is Free. New York: McGraw – Hill.

Douglas, C. M. (2007). Design and Analysis of Experiments (6thed.). New York: John Willey & Sons Inc.

Gronroos, C. (1990). Relationship Approach to Marketing in Service Contexts: The marketing and Organizational behavior interface. Journal of Business Research, 20(1), 3–17.

Kotler, P (1997). Marketing management: analysis, planning implementation and control. (9th ed.). New Jersey: Asimmon & Schuster.

Kotler, P. (2010). Marketing management (The Millennium ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2008). Marketing: An introduction. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice – Hall.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). SERVQUAL: a multi – item secale for measuring consumer perception of service quality. Journal of Retailing, 64(1), 12-40.

Pinar, M., Eser, Z., & Straser, S. (2010). Using Mystery Shopping to Compare the Service Quality of Banks in Turkey. Services Marketing Quarterly, 31(1), 1-26.

Zeithamal, V. A., Parasuraman, A. P., & Berry L. (1988). SERVQUAL: A multiple item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of retailing, 64, 12-40.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-14