กรณีศึกษาความสาเร็จของอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลีใต้
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อเท็จจริงในการส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงของรัฐบาลเกาหลีใต้ (2) รูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลีใต้ของภาคประชาชนและภาคเอกชน และ (3) ให้ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงไทยต่อรัฐบาลไทยผ่านกรณีศึกษาของอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลีใต้ โดยใช้วิธีการค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความทางวิชาการ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลีใต้ ซึ่งใช้วิธีการเขียนแบบทบทวนวรรณกรรม และใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลแบบเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) รัฐบาลเกาหลีให้เงินทุนสำหรับการผลิตซีรีส์และภาพยนตร์เกาหลีใต้ และยกเลิกกฎหมายการปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าทางวัฒนธรรม (2) ภาคประชาชนทำหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพของเนื้อหาทางวัฒนธรรมด้วยวิธีการับชมซีรีส์เกาหลี ส่วนภาคเอกชนทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตสินค้าเชิงสร้างสรรค์ให้กับอุตสาหกรรมบันเทิงเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค และ (3) รัฐบาลไทยส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงไทยผ่านยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดีทัศน์ทั้ง 3 ระยะ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2564
Article Details
References
รายการอ้างอิง
กระทรวงวัฒนธรรม. (2554). ยุทธศาสตร์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) ประเทศไทย : ศูนย์กลางภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งเอเชีย (Thailand : The Asian Hub of Movie and Digital Content), 17 กุมภาพันธ์ 2564. กระทรวงวัฒนธรรม. https://www.m-culture.go.th/policy/files/329/Asian.pdf
กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). ครม. เห็นชอบยุทธศาสตร์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ระยะที่ 3, 17 กุมภาพันธ์ 2564. กระทรวงวัฒนธรรม. https://www.m-culture.go.th/th/article_view.php?nid=5003
กิตติ ประเสริฐสุข. (2561). Soft Power ของเกาหลีใต้: จุดแข็งและข้อจำกัด. วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา, 22(1), 136.
จิตสุภัค ตันติเกษตรกิจ. (2559). บทบาทของภาครัฐในการส่งเสริมอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงของประเทศไทยเพื่อเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมในตลาดโลก, 5 พฤศจิกายน 2563. สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. http://203.113.122.174/ULIB5//dublin.php?ID=650#.YjyLhedBy00
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย. (2563). การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Sector Management). วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2(2), 462-464.
ณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์ และรานี อิฐรัตน์. (2563). เศรษฐกิจสร้างสรรค์: จากความคิดสร้างสรรค์สู่มูลค่าเศรษฐกิจ(3), 23 สิงหาคม 2563. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/649100
ธีร์จุฑา มาศประสิทธิ์. (2563). อุตสาหกรรมบันเทิงในประเทศเกาหลีใต้, 8 ธันวาคม 2563. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. https://www.ditp.go.th/contents_attach/583457/583457.pdf
นันทิพา บุษปวรรธนะ และนาวิน วงศ์สมบุญ. (2563). ความสำเร็จในการเผยแพร่กระแสวัฒนธรรมเกาหลี (Korean Wave): บทบาทของรัฐบาลและอุตสาหกรรมสื่อบันเทิง (The Success of Korean Wave Distribution: The Roles of Government and Entertainment Sectors). วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 7(2), 9-10.
สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2560). การบริหารงานภาครัฐตามหลักทฤษฎีองค์การ: การบริหารงานภาครัฐ (PA) การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) และการบริหารปกครองภาครัฐใหม่ (NPG). วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 4(1), 6.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). (2561). กรณีศึกษาโมเดลธุรกิจท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องในประเทศเกาหลี, 19 กรกฎาคม 2564. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). https://sme.go.th/upload/mod_download/download-20181005080650.pdf
Jerry Ht. (2564). รวมมิตร “อาหารจานหนัง” ดูสนุก กินอร่อย ทะลุจอ!, 10 กันยายน 2564. JUSTดูIT. https://www.youtube.com/watch?v=297CD6UH8Gs&list=WL&index=41&t=13s
แพง ชินพงศ์. (2552). “ธีระ” เผย ครม. หนุนอุตสาหกรรมหนัง ตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ ส่งเสริมคุณธรรม, 3 เมษายน 2565. MGR Online. https://mgronline.com/qol/detail/9520000063063
Shifter. (2563). ขายวัฒนธรรมอย่างไร ให้ได้เหมือนเกาหลี, 25 กุมภาพันธ์ 2564. Shifter. https://www.facebook.com/watch/?v=216750749481168
RYT9. (2561). ท่องเที่ยวเกาหลีบูม ดันกระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลี ดึงคนไทยเที่ยวคาดปีนี้ทะลุ 5.4 แสนคน, 16 พฤศจิกายน 2564. RYT9. https://www.ryt9.com/s/prg/2898038
RYT9. (2542). เกาหลีใต้ : เศรษฐกิจที่อาจพลิกผัน, 23 ตุลาคม 2563. RTY9. https://www.ryt9.com/s/ryt9/183849
WorkpointTODAY. (2562). “รัฐบาลประกาศหนุน คนทั้งประเทศก็ให้ความร่วมมือ” ถอดเกร็ดความสำเร็จ บันเทิงเกาหลี, 25 กรกฎาคม 2563. WorkpointTODAY. https://workpointtoday.com/interview-cjm1/
Berg, S. H. (2015). Creative Cluster Evolution: The Case of the Film and TV Industries in Seoul, South Korea. European Planning Studies, 23(10), 1.
Beng, C., & Iwabuchi, K. (2008). Mapping Out the Cultural Politics of the ‘Korean Wave’ in Contemporary South Korea. Retrieved May 30, 2021, from Omnilogos Website: https://omnilogos.com/mapping-out-cultural-politics-of-korean-wave-in-contemporary-south-korea/
Istad, F. (2016). A Strategic Approach to Public Diplomacy in South Korea. Retrieved September 6, 2021, from ResearchGate Website: https://www.researchgate.net/publication/315738290_A_Strategic_Approach_to_Public_Diplomacy_in_South_Korea
Nye, S. J., Jr. (2004). Soft Power the Means to Success in World Politics. Retrieved November 16, 2020, from Academia.edu Website: https://www.academia.edu/28699788/Soft_Power_the_Means_to_Success_in_World_Politics_Joseph_S_Nye_Jr
Martin Roll. (2021). Korean Wave (Hallyu) – The Rise of Korea’s Cultural Economy & Pop Culture, June 16, 2021. Martin Roll. https://martinroll.com/resources/articles/asia/korean-wave-hallyu-the-rise-of-koreas-cultural-economy-pop-culture/
Otmazgin, N. (2011). A Tail that Wags the Dog? Cultural Industry and Cultural Policy in Japan and South Korea. Journal of Comparative Policy Analysis Research and Practice, 13(3), 316.
Petasen, P. & Janjula, J. (2020). Korean Wave 4.0. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 12(2), 15-16.
Kwon, S. H. & Kim, J. (2014). The cultural industry policies of the Korean government and the Korean Wave. International Journal of Cultural Policy, 20(4), 1.
The Korea Times. (2020). South Korea’s export of cultural goods reach $10 billion. Retrieved June 20, 2021, from The Korea Times Website: https://www.koreatimes.co.kr/www/art/2020/07/688_292447.html