แนวทางการส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเองสำหรับผู้สูงวัยจังหวัดกาฬสินธุ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาฬสินธุ์ และ 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการสร้าง ความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป จำนวน 5 แห่ง รวมทั้งสิ้น 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีสัมภาษณ์เชิงลึกและการประชุมกลุ่มย่อย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
- 1. รูปแบบการส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเองสำหรับผู้สูงอายุพบว่า มีการจัดทำหลักสูตรการเรียนที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่ให้ความสำคัญทั้งมิติสุขภาพทางกาย มิติสุขภาพใจและมิติด้านสติปัญญาโดยใช้กิจกรรมที่เน้นความรู้ควบคู่กับกิจกรรมทางสังคม
- 2. แนวทางการส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเองสำหรับผู้สูงอายุ มี 4 แนวทาง คือ 1) การอบรมให้มีความตระหนักรู้ถึงคุณค่าของตนเอง 2) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการสร้างคุณค่าของตนเองสำหรับผู้สูงอายุ 3) การส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 4) บูรณาการเสริมสร้าง องค์ความรู้จากหน่วยงานหลายฝ่ายโดยการจัดกิจกรรม การเผยแพร่ และการหาวิทยากรมาให้ความรู้
Article Details
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). คู่มือโรงเรียนผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ และวรากร เกรียงไกรศักดา. (2560). การพัฒนาแนวทางการดำเนินงาน ของชุมชนในการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ. Journal of the
Association of Researchers, 22(1), 87-89.
จุฑารัตน์ แสงทอง. (2558). การเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุผ่านบทบาทอาสาสมัคร. สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์, 15(2), 73-89.
ดวงพร ภาคาหาญ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเองกับระดับสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ เขตรับผิดชอบศูนย์
สุขภาพชุมชนเขตเมือง โรงพยาบาลแพร่ (ร่องซ้อ). วารสารการแพทย์, 25(2), 13-23.
ทักษิกา ชัชวรัตน์ และสุภาภรณ์ อุดมลักษณ์. (2560). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าของผู้สูงอายุ. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
พะเยา. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(3), 176-188.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). ความท้าทายของภาวะสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. วันที่ค้นข้อมูล 25 พฤษภาคม 2565, เข้าถึงได้จาก
https://www.bot.or.th/Thai/Pages/default.aspx
พายุ นาวาคูระ. (2564). แนวทางการพัฒนาอาชีพสำหรับผู้สูงอายุของบ้านหนองบ่อ ตำบลหนองบ่อ อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. วารสาร
มนุษยสังคมสาร (มมส), 19(3), 21-42.
พรทิพย์ สุขอดิศัย และคณะ. (2557). วิถีชีวิตและแนวทางการมีสุขภาวะของผู้สูงอายุในภาคตะวันออก. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 10(1), 90-91.
พวงนรินทร์ คำปุก. (2558). ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องในการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ปรีชา ธรรมา, บรรณาธิการ. (2547). การเห็นคุณค่าในตนเอง . กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
มนตรี ประเสริฐรุ่งเรือง และดุษฎี อายุวัฒน. (2559). การสร้างทางเลือกในการพึ่งพาตนเองอย่างมีคุณค่าของผู้สูงอายุรุ่นใหม่. วารสารประชากร, 4(2), 23.
ยุพิน ทรัพย์แก้ว. (2559). การศึกษารูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุของศูนย์ความเป็นเลิศด้านการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูง
อายุวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 9(2), 25-39.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, ภาวนา พัฒนศรี และธนิกานต์ ศักดาพร. (2560). รายงานวิจัยการถอดบทเรียน
ตัวอย่างที่ดีของโรงเรียนและชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมถ่ายทอดความรู้. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.
เวหา เกษมสุข. (2562). แนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของโรงเรียนผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2565). สังคมสูงอายุแบบสมบูรณ์คนไทยพร้อมแล้วหรือยัง. วันที่ค้นข้อมูล 25 พฤษภาคม 2565, เข้าถึงได้จาก
https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media.().
สิริกาญจน์ กระจ่างโพธ์ และคณะ (2561). การพัฒนารูปแบบเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน. วารสารแพทย์นาวี, 45(2),
-376.
สำนักงานสถิติจังหวัดกาฬสินธุ์. (2564). สถิติประชากรศาสตร์ประชากรและการเคหะจังหวัดกาฬสินธุ์. วันที่ค้นข้อมูล 2 เมษายน 2565, เข้าถึงได้จาก
สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. (2555). คู่มือ ความสุข 5 มิติ สำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด.
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. (2556). คู่มือการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส
และผู้สูงอายุกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2553). Everest พาลูกค้นหาความนับถือตนเอง (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ซันตร้าการพิมพ์.
Chaipunyo, T. (2014). Guidelines for occupational development of the elderly in Changpuak municipality Mueang Chiang Mai district.
Master of Education, Chiang Mai: Chiang Mai University.
Coopersmith, S. (1981). The Antecedents of Self–Esteem. Polo Alto, California: Consutting Psychologisits.
Erikson, E. H. (1978). Identity and the Life Cycle. London: W.W. Norton.
Timothy, J. O., Stryker, S., & Goodman, N. (2006). Extending Self- Esteem Theoryand Research Sociological and Psychological Currents.
New York: Cambridge University Press.
United Nation. (2017). World Population Ageing. Retrieved May 25, 2022, from https://population.un.org