ขบวนการจัดตั้งกับความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้: แรงจูงใจ การขับเคลื่อน และแนวทางแก้ไข

Main Article Content

ปณิธาน วัฒนายากร

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีสมมติฐานว่ามีขบวนการที่จัดตั้งขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าไปเกี่ยวข้องกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น ถึงแม้ว่าขบวนการดังกล่าว จะไม่ได้เปิดเผยตัวตนอย่างชัดเจน แต่ก็ได้มีการจัดตั้งและดำเนินการอย่างเป็นระบบ ในรูปแบบขององค์กรลับที่มีเครือข่าย และมีสมาชิกของขบวนการเข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ความรุนแรงในบางพื้นที่ และในบางลักษณะ โดยมีทั้งผู้ลงมือกระทำ ผู้สนับสนุนส่งเสริม และในบางครั้ง ก็เป็นผู้ผู้ถูกกระทำความรุนแรงอีกด้วย


                    บทความนี้อาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง จากเอกสารทางการและไม่ทางการ จากการสัมมนา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากผู้ชี่ยวชาญ และสรุปว่า ในการศึกษาสาเหตุของความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น ไม่ควรมองข้ามการมีอยู่และเข้าไปเกี่ยวข้องกับความรุนแรงของขบวนการจัดตั้งต่าง ๆ เช่น Barisan Revolusi Nasional Melayu Patani (BRN) หรือบีอาร์เอ็น และอื่น ๆ และมีความจำเป็นจำเป็นที่จะต้องมีการศึกษาโครงสร้าง  บทบาท และความเกี่ยวข้องกับความรุนแรงของขบวนการต่าง ๆ ดังกล่าวเหล่านั้นให้มากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งในเรื่องปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้และในเรื่อง   ความรุนแรง อันจะนำไปสู่แนวทางใหม่ที่จะแก้ไขปัญหาต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

บุญเอื้อ บุญฤทธิ์. (2556). การก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้กับอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่และ
พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ. Kasem Bundit Journal, 14(2), 54.
ปกรณ์ พึ่งเนตร. (2550). 3 ปีปล้นปืนทหารแนวรบภาคใต้ เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง. วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน
2562, เข้าถึงได้จาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=47240
ผู้นำสำคัญของบีอาร์เอ็น กอ.รมน.ภาค 4 สน. (1 เมษายน 2563). สัมภาษณ์.
มารค ตามไท. (ม.ป.ป.). สานฝันปาตานีโดยไม่ใช้ความรุนแรง: การวิเคราะห์จากบทสนทนาเพื่อสร้าง
จินตนาการใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
รอมฏอน ปันจอร์ (2563). การเมืองของความขัดแย้งชายแตนใต้/ ปาตานี: ทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงความ
เป็นการเมืองในห้วง 15 ปีของความรุนแรง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี. (2562). อัลกอริทึมของความแปรปรวนในความรุนแรง 15 ปี ชายแดนใต้/ ปาตานี. วันที่
ค้นข้อมูล 23 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.the101.world/algorithm-of-violence-in- deep-south/
สมาชิกหลักของบีอาร์เอ็นในระดับผู้นำสำคัญที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศในปี พ.ศ. 2564. (1 เม.ย. 2563).
สัมภาษณ์.
สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ. (2563). การศึกษากลไกทางกฎหมายเพื่อการกลับคืนสู่สังคมของกองกำลังติดอาวุธใน
จังหวัดชายแดนใต้ผ่านการศึกษาเปรียบเทียบกับกลไกของอาเจะฮ์และมินดาเนา. ใน สัมนาวิชาการ ชายแดนใต้: พื้นที่ ผู้คน และข้อเสนอเชิงนโยบาย รายงานวิจัยภายใต้ชุดโครงการงานวิจัยประเด็นวิจัย เชิงยุทธศาสตร์จังหวัดชายแดนภาคใต้ (SRI 13). วันที่ 8 ตุลาคม 2563, ณ หอประชุม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
สำนักข่าวอิศรา. (2559). ถาม "พล.อ.สำเร็จ" เจ้าทฤษฎีบีอาร์เอ็น...ให้กี่เปอร์เซ็นต์ไฟใต้ขยายพื้นที่. วันที่ค้น
ข้อมูล 22 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://isranews.org/content-page/67/49311-brn_49311.html
สำนักข่าวอิศรา. (2564). 17 ปีไฟใต้...ความรุนแรงยังไม่จางหาย สารพัดเหตุร้ายผสมโรง. วันที่ค้นข้อมูล 22
สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.isranews.org/article/south-news/south-slide/94729- anniversary.html
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2563). คู่มือการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563. วันที่ค้นข้อมูล 23 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก http://www.strategypolice.com/webdatas/download/dl_488.pdf
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (2559). นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.
2560-2562. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
อรอนงค์ ทิพย์พิมล. (2563). ทบทวนประวัติศาสตร์ปัต (ปา) ตานี: มุมมองที่แตกต่างหลากหลาย. กรุงเทพฯ:
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).

อาคม รวมสุวรรณ. (2564). คนไทยยังขับรถแย่ ทำสถิติอุบัติเหตุบนท้องถนนสูงโด่งนำอันดับ 1 ในเอเชียและ
อาเซียน. วันที่ค้นข้อมูล 22 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/news/auto/news/2068299
Brown, S. (2015). On the Front Foot? Preserving Australia’s security against the threat posed by returning
foreign fighters. Weston: Australian Defence College.
Chalermsripinyorat, R. (2021). Islam and the BRN’s armed separatist movement in Southern Thailand. Small
Wars & Insurgencies, 32(2021), 1-32.
Coolsaet, R. (2016). All Radicalization Is Local: The Genesis and Drawbacks of an Elusive Concept, Egmont.
Brussels: The Egmont Institute.
Croissant, A. (2005). Unrest in South Thailand: Contours, causes, and consequences since 2001.
Contemporary Southeast Asia: a journal of international and strategic affairs, 27(1), 21-43.
Frazer, O., & Nünlist, C. (2015). The Concept of Countering Violent Extremism (CVE). CSS Analysis in
Security Policy, 183(2015), 1-4.
Global Terrorism Index. (2015). Measuring and Understanding the Impact of Terrorism. Sydney, New York
and Mexico City: IEP.
Hamid, N. (2017). “What Makes a Terrorist?” blog post, New York Review of Books. Retrieved August 23, 2017, from http:// www.nybooks.com/daily/2017/08/23/what-makes-a- terrorist/
Harris-Hogan, S., Barrelle, K., & Zammit, A. (2015). “What is countering violent extremism?” Exploring
CVE policy and practice in Australia. Behavioral Sciences of Terrorism and Political Aggression, 8(1), 6-24.
Helbardt, S. (2015). Deciphering Southern Thailand’s Violence: Organization and Insurgent Practices of
BRN- Coordinate. Singapore: ISEAS.
Its resolution 2178. (2014). on stemming the flow of foreign terrorist fighters (FTFs), the Council underscores that countering violent extremism (CVE) is an “essential element” in addressing the threat to international peace and security posed by FTFs. Retrieved August 23, 2017, https://www.un.org/securitycouncil/ctc/content/countering-violent-extremism-and-terrorist- narratives#:~:text=In%20its%20resolution%202178%20(2014,and%20security%20posed%20by% 20FTFs
Jansen, F. (2010). Aussteigerprogramme Soll Gegen Radikale Islamisten Helfen. Retrieved August 6, 2018, from https://m.tagesspiegel.de/politik/verfassungsschutzbericht-aussteigerprogramm-soll-gegen- radikale-islamisten-helfen/1864938.htm?utm_referrer=https%3A%2F%2Fuckduckgo.com%2F
Schulze, K. (2008). Indonesia’s Approach to Jihadist Deradicalisation. CTC Sentinel 1, 8(2008), 8-9.
The Asia Foundation. (2017). Countering Violent Extremism in Asia: The Role of Development Assistance.
San Francisco: The Asia Foundation.
Southern News Center. (2020). 16 Years of Southern Fire. Retrieved January 4, 2020, from https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/84129-sixteen.html
Tomlin, J. K. (2019). The Victim Identity Model: The Pathology of Apithological Organized Collective
Violent Conflict. PhD diss., National American University.
United Nations. (2020). A New Era of Conflict and Violence. Retrieved September August 22, 2021, from https://www.un.org/en/un75/new-era-conflict-and-violence
United Nations Development Programme. (2016). Preventing Violent Extremism Through Promoting
Inclusive Development, Tolerance and Respect for Diversity. New York: UNDP.
United Nations General Assembly. (2015). Plan of Action to Prevent Violent Extremism: Report of the
Secretary-General, A/70/674 (December 24, 2015). Retrieved August 23, 2017, from http://undocs.org/en/A/70/674.