แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสู่การเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลดงลิง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสู่การเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลดงลิง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสู่การเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ จำนวน 55 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือการสัมภาษณ์เชิงลึกและการประชุมกลุ่มย่อย (Focus group) โดยใช้การวิเคราะห์สังเคราะห์ในเชิงพรรณนา มีผลการศึกษา ดังนี้
1) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลดงลิง ผลการวิจัยพบว่า มี 2 ลักษณะคือ1) การจัดสวัสดิการสังคมที่รัฐเป็นผู้จัดให้ 2)การจัดสวัสดิการสังคมที่ประชาชนในทองถิ่นเป็นผู้จัด
2) แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมสู่การเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลดงลิง พบว่ามีแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม 3 แนวทาง คือ 1) การจัดสวัสดิการสังคมที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างสุขภาวะด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านปัญญา/จิตวิญญาณให้กับผู้สูงอายุ 2) การมีระบบการบริหารจัดการด้านผู้สูงอายุของเทศบาลแบบ One–Stop Service 3) การจัดสวัสดิการสังคมจากฐานของนวัตกรรมชุมชนสำหรับผู้สูงอายุ
Article Details
References
กองทุนสวัสดิการ ชุมชนตำบลเขาคราม จังหวัดกระบี่. รายงานการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารการทูต, สถาบันต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ. กรุงเทพฯ.
กรกฤช ลิ้มสมมุติ. (2558). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอำเภอตรอน จังหวัด
อุตรดิตถ์. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย . (หน้า153-161).
กฤติญา กีรติกอบมณี .( 2560) รูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนเชิงบูรณาการระดับเมืองที่มีประสิทธิผล.วรสาร
Veridian E-Journal, Silpakorn University ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560. ( หน้า260 ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ.
กฤษณ์ ภูรีพงศ์ และคณะ. (2558). แนวทางการพัฒนาการจัดการสวัสดิการของผู้สูงอายุใน ภาคเหนือ
ตอนล่าง.วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (หน้า1-17) .
เทศบาลตำบลดงลิง (2563).แผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลตำบลดงลิง.สืบคนเมื่อ 25 กรกฏาคม 2564,
จาก. http://www.dongling.info/แผนพัฒนาท้องถิ่น%20เทศบาลตำบลดงลิง.pdf.
ธนัตถ์นันท์ เอียดพวง. (2554). การประเมินโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ศึกษาองค์การบริหาร ส่วนตำบ้านโพธิ์
แทน จังหวัดนครนายก. สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ประยุทธ พานิชนอก (2551). กระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนในการเสริมสร้างคุณค่าภูมิปัญญา
ผู้สูงอายุ ชุมชนเทศบาลตำบลบ้านกรวด ปัญญาวัฒน์ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์. กรุงเทพฯ:
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุ. (2563).สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2563. สืบคนเมื่อ 25 มิถุนายน
2564, จาก file:///C:/Users/acer/Downloads/ThaiElderly_2563.pdf .
ระพีพรรณ คำหอม. (2557). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.
วรรณภา ศรีธัญรัตน์, ผ่องพรรณ อรุณแสง, เพ็ญจันทร์เลิศรัตน์, และพรทิพาสมบัติ. (2545). ระบบบริการ
สุขภาพและหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศสิงคโปร์. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2550). ศูนย์อเนกประสงค์สำหรับผู้สูงอายุในชุมชน : กลไกการดำเนินงานเพื่อความ
ยั่งยืน. กรุงเทพ : มิสเตอร์ก๊อปปี้.
เศรษฐวัฒน์ โชควรกุล. (2555). นโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต
จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์, (
หน้า 146-165) .
สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. (2557).สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย.วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ ปีที่ 7
ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2557 .( หน้า 79).
สำนักงานสถิติแห่งชาติ.(2563). สถิติประชากรศาสตร์ประชากรและการเคหะ จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2563 .
สืบค้นเมื่อ 2 กรกฏาคม 2564 . จาก http://kalasin.nso.go.th/images / 1.b.1-18.pdf
สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ. (2550). พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. 2546. สืบคนเมื่อ 20 มิถุนายน
2564, จาก http://www.oppo.opp.go.th/info/pororborTH_46-2-53.pdf.
อัจศรา ประเสริฐสิน และคณะ (2561) สุขภาวะของผูสูงอายุ: แนวคิดและปจจัยที่เกี่ยวของ .วารสารสุขศึกษา.
มกราคม – มิถุนายน 2561 ปที่ 41 เลมที่ 1.
Khaichaiyaphum, P. (2011). Welfare Needs of the Elderly in Nonthai Municipality, Nonthai
District, Nakhon Ratchasima Province. Independent Study. M.A. Khon Kean
University.