การยกระดับความสามารถการใช้ระบบe-Filing ของผู้ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจวิธีการยกระดับความสามารถการใช้ระบบ e-Filing และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการไม่ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในระบบe-Filing ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือผู้ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรี จำนวน 505 ตัวอย่าง เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สุ่มแจกและเก็บตามสะดวก ระหว่างวันที่ 15 มกราคม–28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนตราฐาน และถดถอยพหุคูณ ประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า วิธีการยกระดับความสามารถการใช้ระบบ e-Filing ได้แก่ การมีโปรแกรมจำลอง จัดอบรมการใช้งานระบบ มีระบบตอบคำถามให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการใช้งานตลอดเวลา มีบริการเครื่องคอมพิวเตอร์และเจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงแนะนำและสอนการยื่นภาษีในระบบภาษีออนไลน์ สำหรับตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ พฤติกรรมการไม่ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในระบบ e-Filing ได้แก่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างภาษี
Article Details
References
“----------------”กลุ่มวางแผนและประเมินผล กองวิชาการแผนภาษี.แผนยุทธศาสตร์กรมสรรพากร
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565.
“---------------”.(2560).สำนักบริหารการเสียภาษีทางอิเล็กทรอนิกส์. คำแนะนำการลงทะเบียนยื่นแบบ
ภ.ง.ด.90/91 และ 94 ผ่านอินเทอร์เน็ต. สืบค้น3มกราคม 2564,จาhttps://rdserver.rd.go.th.
กุสุมา ดำรงชัย และกุหลาบ ปุริสาร.(2561).ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ของประชาชนในตำบลกู่ทอง อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม.วารสารวิทยาลัยบัณฑิต
เอเซีย. 8(1), 124-132. สืบค้น7 กุมพันธ์ 2564.จากhttp://www.casjournal.cas.ac.th
ชัชชญา เสริมพงษ์พันธ์.(2560).การพยากรณ์ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในประเทศไทย. การค้นคว้า
อิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพ. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิยาลัยธรรมศาสตร์.
นิชานันท์ ชาวนา.(2559).ปัญหาและอุปสรรคของการยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่าน
อินเทอร์เน็ต ณ สำนกงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี1.งานนิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
ชลบุรี :วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ประชา ตันเสนีย์.(2553).การเลือกใช้โปรแกรม LISRELมาช่วยในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. สืบค้น 5
มกราคม 2563. จาก www.drpracha.com.
พงษ์ศักดิ์ ซิมมอนด์ส.(2560).การพิสูจน์ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรง.
วารสารคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2(1). 119-
148. สืบค้น7 กุมพันธ์ 2564.จาก http://pol.rmu.ac.th/journal_file/poj2_1_010.pdf.
ฟ้ารฬิณฑ์ ฟ้าฎษิฐกล.(2562).ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบยื่นแบบแสดงรายการและชำระ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของผู้มีเงินได้ในเขตอำเภอลี้ จังหวัด
ลำพูน. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช
ภัฏเชียงใหม่.
โมกขนันต์ โชติชูช่วง.(2563).แรงจูงใจในการชำระภาษีอากรออนไลน์ของผู้ประกอบการในเขตพระ
โขนง กรุงเทพมหานคร. สารวารโครงการทวิปริญญาทางรัฐประศาสนศาสตร์และบริหารธุรกิจ.
1-10. สืบค้น7 กุมพันธ์ 2564.จากhttp://www.mpa-mba.ru.ac.th.
วิภาดา สุขสวัสดิ์.(2558). การศึกษาความรู้ความเข้าใจของผู้เสียภาษีอากรที่มีผลต่อทัศนคติการเสียภาษี
เงินได้บุคคลธรรมดาของสํานักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 13 (เขตคลองเตย). การ
ค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพ.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
ฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล และ สุพรรณีพุทธรัตน์.(2559).ความรู้และทัศนคติของผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
เงินได้บุคคลธรรมดาในท้องที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สุราษฎร์ธานี2.วารสารมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 35(6).204-213. สืบค้น7 กุมพันธ์ 2564.จาก
https://hujmsu.msu.ac.th/pdfsplit.php?p=MTU5OTAxMzUwMS5wZGZ8MjEyLTIyM
อนันธิตรา ดอนบรรเทา.(2560). ปัญหาและสาเหตุการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในตำบลลาน
ดอกไม้ตก.รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย
มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร. 614-620. สืบค้น7 กุมพันธ์ 2564.จาก
https://fms.kpru.ac.th/fms-portfolio/23564/
อาริศรา นนทะคุณ.(2561).ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านทาง
ออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพ. คณะ
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอมอร พลวัฒนกุล และสมแก้ว รุ่งเลิศเกรียงไกร.(2550).สาเหตุของการไม่ยื่นแบบและชำระภาษีผ่าน
อินเทอร์เน็ต : กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต.วารสารวิทยาการจัดการ. 25 (1), 1-11.สืบค้น7 กุมพันธ์
2564.จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jms_psu/article/view/63865/52400.
Joseph F. Hair, William C. Black, Barry J. Babin. (2010). Multivariate Data Analysis. 7Th.
Pearson Education, 2010.