วิธีการวัดและประเมินผลโดยใช้วิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งเป็นคุณลักษณะแฝงที่มีอยู่ภายในบุคคล มักจะมีคำถามเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ วิธีการที่ใช้ในการวัด รวมทั้งวิธีการตรวจสอบความถูกต้องของคะแนนที่ได้จากผู้ตอบว่าสอดคล้องกับความรู้สึกหรือพฤติกรรมตามความเป็นจริงของผู้ตอบหรือไม่ ซึ่งวิธีการวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม มีหลายวิธี เช่น การรายงานตนเอง (Self-rating) การรายงานโดยบุคคลอื่น (Other’s rating) การตอบตามตัวเลือกตามที่กำหนด (Forced-choice Assessment) และ แองเคอร์ริง วินเยตต์ (Anchoring vignettes) เป็นต้น ซึ่งจากวิธีการต่าง ๆ ที่กล่าวมา วิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์ (Anchoring vignettes)เป็นวิธีที่มีการนำมาใช้ในการศึกษา ยังไม่มากนัก ทั้งที่เป็นวิธีการที่ต่างประเทศนิยมนำมาใช้กันแพร่หลาย ดังนั้นในบทความนี้จึงขอกล่าวถึง วิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์ ในหัวข้อ ดังต่อไปนี้ คือ 1) แองเคอร์ริง วินเยตต์คืออะไร
2) ที่มาและความสำคัญของแองเคอร์ริง วินเยตต์ 3) วิธีการนำเครื่องมือที่ใช้วิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์ไปทดลองใช้ 4) ผลการวิเคราะห์จากการปรับแก้ค่าคะแนนโดยใช้วิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์ เพื่อให้ผู้อ่านทราบข้อมูลเกี่ยวกับวิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์ และนำไปเป็นทางเลือกในการวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความและบทความในวารสารการวัด ประเมินผล สถิติ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการวารสาร จึงมิใช่ความรับผิดชอบของวารสารการวัด ประเมินผล สถิติ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์ บทความในวารสารต้องไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน และสงวนสิทธิ์ตามกฎหมายไทย การจะนำไปเผยแพร่ ต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกองบรรณาธิการ
References
มณิการ์ ชูทอง. (2557). การพัฒนาเครื่องมือประเมินแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนโดยใช้แองเคอร์ริง วินเยตต์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วินิตา แก้วเกื้อ. (2563). การพัฒนามาตรวัดคุณค่าความดีเพื่อประเมินโครงการโตไปไม่โกง: การปรับแก้ค่าคะแนน โดยใช้วิธีแองเคอร์ริง วินเยตต์. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผล การศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Grol-Prokopczyk, H., Verdes-Tennant, E., McEniry, M. et al. (2015). Promises and pitfalls of anchoring vignettes in health survey research. Demography 52, 1703–1728. https://doi.org/10.1007/s13524-015-0422-1
Hopkins, D. & King, G. (2010). Improving anchoring vignettes: designing surveys to correct interpersonal incomparability. Retrieved April 16, 2018, from https://gking.harvard.edu/files/gking/files/implement.pdf
Kapteyn, A., Smith, J. P., Soest, A. V., & Vonkova, H. (2011). Anchoring vignettes and response consistency. Rand Labor And Population, 1-32.
King, G. [n.d.]. Anchoring vignettes FAQs. Retrieved February 20, 2018, from https://gking.harvard.edu/ anchoring-vignettes-faqs
Kyllonen, P. C., & Bertling, J. P. (2013). Innovative questionnaire assessment methods to increase cross-country comparability. Handbook of international large-scale assessment: Background, technical issues, and methods of data analysis, 277-285.
Von Davier, M., Shin., H. J., Khorramdel, L., & Stankov L. (2017). The Effects of Vignette Scoring on Reliability and Validity of Self-Reports. Retrieved February 20, 2019, from https://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/0146621617730389
Wand J., & King G. (2007). Comparing Incomparable Survey Response: Evaluating and Selecting Anchoring Vignettes. Retrieved May 10, 2018, from https://www.cambridge.org/core/ journals/political-analysis/article/comparing-incomparable-survey-responses -evaluating-and-selecting-anchoring- vignettes/AA12FD1F8DD8BF9A58BA10EC89C5F3B1
Wand J., King G., & Lau O. (2011). “Anchors: Software for Anchoring Vignettes Data.” Journal of Statistical Software, 42(3), 1-25.