วิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระเข้าสู่สมการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ

Main Article Content

สฤษฏ์เทพ สุขแก้ว

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งนำเสนอวิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระเข้าสู่สมการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ โดยมีการให้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระ ข้อดีและข้อจำกัดของวิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระ และแนวโน้มของการศึกษาและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระเข้าสู่สมการถดถอย วิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มวิธี คือ กลุ่มวิธีการทั่วไปที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งในบทความนี้จะขอกล่าวเฉพาะวิธีการถดถอยแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise Regression) และกลุ่มวิธีการแบบเมตาฮิวริสติก (Metaheuristic) ซึ่งในบทความนี้จะขอกล่าวเฉพาะวิธีการค้นหาแบบต้องห้าม (Tabu Search) วิธีขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm) และวิธีการจำลองการอบเหนียว (Simulated Annealing) โดยแต่ละวิธีมีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ในสถานการณ์ที่มีความแตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
สุขแก้ว ส. (2022). วิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระเข้าสู่สมการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ. วารสารการวัด ประเมินผล สถิติ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์, 3(1), 1–10. https://doi.org/10.14456/jsmesr.2022.1
บท
บทความวิชาการ

References

ทรงศิริ แต้สมบัติ. (2548). การวิเคราะห์การถดถอย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธิดาเดียว มยุรีสวรรค์. (2559). การวิเคราะห์การถดถอย. ขอนแก่น: เพ็ญพรินติ้ง.

นิศาชล งามประเสริฐสิทธิ์ และจิราวัลย์ จิตรถเวช. (2556). การเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแปรอิสระที่มีปัญหาสหสัมพันธ์เชิงเส้นพหุด้วยวิธีการถดถอยแบบริดจ์และการค้นหาแบบต้องห้าม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 18(2), 76 – 89.

ปิยรัตน์ งามสนิท ธรา อั่งสกุล และจิติมนต์ อั่งสกุล. (2560). ขั้นตอนวิธีการจำลองการอบเหนียวสำหรับการวางแผนแผนการเดินทางท่องเที่ยวภายใต้เงื่อนไขบังคับด้านเวลา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(6), 713 – 727.

พัทธ์ชนก ศรีสุรเดชชัย และชญานิน อินกว่าง. (2563). ประสิทธิภาพของตัวดำเนินการข้ามสายพันธุ์ในขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมสำหรับการคัดเลือกตัวแปรในการวิเคราะห์การถดถอย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 28(9), 1517 – 1533.

พีรภัทร์ ภาคภูมิกมลเลิศ จรัสศรี รุ่งรัตนาอุบล และอนามัย นาอุดม. (2563). การเปรียบเทียบวิธีคัดเลือกตัวแปรอิสระในตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นพหุโดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมและการจำลองการอบเหนียว. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 12(16), 11 – 25.

รัฐพงศ์ ชัยเอิก ปริม ชูคากร และวรรณพร จันโทภาส. (2560). วิธีการคัดเลือกตัวแปรในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล และจิราวัลย์ จิตรถเวช. (2548). เทคนิคการพยากรณ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

วิรัชช พานิชวงศ์. (2549). การวิเคราะห์การถดถอย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ศิรินทิพย์ หมื่นจัทร์ และวฐา มินเสน. (2557). การคัดเลือกตัวแบบในการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณโดยใช้วิธีดับเบิลเจเจติกอัลกอริทึม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 19(2), 139 – 153.

Deep, K. & Thakur, M. (2007). A new mutation operator for real coded genetic algorithms. Applied Mathematics and Computation, 193(1), 211 – 230.

Hasan, Örkcü, H. (2013). Subset selection in multiple linear regression models: A hybrid of genetic and simulated annealing algorithms. Applied Mathematics and Computation, 219(23), 11018 – 11028.

Montgomery, D.C., Peck, E.A. & Vining G.G. (2021). Introduction to Linear Regression Analysis. New Jersey: John Wiley & Sons.

Scrucca, L. (2013). GA : A Package for Genetic Algorithm in R. Journal of Statistical Software, 53(4), 1 – 37.