The Building of Human Research Ethics in Social Science Research

Main Article Content

Pairote Wilainuch

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการชี้ให้ผู้อ่านทราบ 2 ประการคือ 1) ขั้นตอนในการสร้างจริยธรรมการวิจัยในคน และ 2) การสร้างจริยธรรมการวิจัยในคนโดยผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย บทความให้รายละเอียดในประการหลังว่านอกจากนักวิจัยจะเป็นคนสร้างจริยธรรมการวิจัยในคนให้เกิดขึ้นแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักในงานวิจัยยังมีส่วนช่วยสร้างจริยธรรมการวิจัยในคนให้เกิดขึ้นด้วย บทความใช้ข้อมูลที่มาจากงานวิจัยเกี่ยวกับการใช้พนักงานขายจำนวน 2 กรณีศึกษา ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยช่วยนักวิจัยสร้างจริยธรรมการวิจัยในคนด้วยการอธิบายให้ผู้ให้ข้อมูลหลักอีกคนหนึ่งเข้าใจในวิธีการเก็บข้อมูลและร้องขอให้ช่วยลงนามในใบให้ความยินยอมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร การปฏิบัติเช่นนี้ของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยทำให้เห็นว่างานวิจัยที่กล่าวถึงในบทความนี้มีความน่าเชื่อถือเพราะมีกระบวนการในการสร้างจริยธรรมการวิจัยในคนอย่างเป็นรูปธรรม ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยรับทราบและเข้าใจในกระบวนการวิจัย มิได้ถูกบังคับให้เข้าร่วมโครงการวิจัยและส่งผลให้นักวิจัยและองค์กรที่สนับสนุนทุนวิจัยมีความปลอดภัย

Article Details

บท
Articles

References

ภาษาไทย
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สำนักงาน. (2555). จรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม.:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สำนักงาน. (2559). แนวทางจริยธรรมการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์. ฉบับปรับปรุง. ครั้งที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

จรรยา เลิศอรรฆยมณี. (2552). “หลักจริยธรรมการวิจัยในคนและคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของคนศิริราช.” เวชบันทึกศิริราช จริยธรรมในทางการแพทย์และวิจัย. 2 (1) 2-6.

ชไมพร กาญจนกิจสกุล. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยสังคมศาสตร์. ตาก: โพรเจ็คท์ ไฟฟ์-โฟว์.

ไพโรจน์ วิไลนุช. (2561). การสื่อสารระหว่างพนักงานขายและลูกค้าในบริบทธุรกิจเครื่องสำอาง. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ไพโรจน์ วิไลนุช. (2561ก). วิธีวิทยาการวิเคราะห์การสนทนา: วิธีวิทยาการวิจัยการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาษาอังกฤษ
Andreescu, L. (2013). “Self-Plagiarism in Academic Publishing: The Anatomy of a Misnomer.” Science and Engineering Ethics, 19 (3), 775-797.

Arumugam, A. and Aldhafiri, F.K. (2016). “A Researcher’s Ethical Dilemma: Is Self-Plagiarism a Condemnable Practice or Not?.” Physiotherapy Theory and Practice, 32 (6), 427-429.

Berlin, L. (2009). Plagiarism, Salami Slicing, and Lobachevsky. Skeletal Radiology, 38, 1-4.

Callahan, J.L. (2018). “The Retrospective (im) Moralization of Self-Plagiarism: Power Interests in the Social Construction of New Norms for Publishing.” Organization, 25 (3), 305-319.

Canadian Institutes of Health Research, Natural Sciences and Engineering Research Council of Canada, and Social Sciences and Humanities Research Council of Canada. (2014). Tri-Council Policy Statement: Ethical Conduct for Research Involving Humans. Interagency Secretariat on Research Ethics: Ottawa, Canada. Retrieved November 15, 2019, from http://www.providenceresearch.ca/sites/default/files/documents/TCPS_2_2014.pdf

Clarke, R. (2006). “Plagiarism by Academics: More Complex Than It Seems.” Journal of the Association for Information Systems, 7 (2), 91-121.

European Commission. (2010). European Textbook on Ethics in Research. Brussels: European Commission.

Farquhar, J. D. (2012). Case Study Research for Business. London: Sage.

Jefferson, G. (2004). “Glossary of Transcript Symbols with an Introduction.” In Gene H. Lerner (ed.) Conversation Analysis: Studies from the First Generation, pp. 13-31. Amsterdam: John Benjamins Publishing.

Gray, B. et al., (2017). “Are Research Ethics Guidelines Culturally Competent?.” Research Ethics, 3 (1), 23-41.

Kara, H. and Pickering, L. (2017). “New Directions in Qualitative Research Ethics.” International Journal of Social Research Methodology, 20 (3), 239-241.

Moskovitz, C. (2016). “Self-Plagiarism, Text Recycling, and Science Education.” Bioscience, 66 (1), 5-6.

Sarangi, S. (2015@2019). “Communication Research Ethics and Some Paradoxes in Qualitative Inquiry.” Journal of Applied Linguistics and Professional Practice, 12 (1), 94-121.

The British Psychological Society. (2014). Code of Human Research Ethics. Leicester: The British Psychological Society. Retrieved November 15, 2019, from https://www.bps.org.uk/sites/bps.org.uk/files/Policy/Policy%20%20Files/BPS%20Code%20of%20Human%20Research%20Ethics.pdf

Wilainuch, P. (2006). Communication between Nurses and Patients in HIV/AIDS Counselling. Unpublished Dissertation. England: University of York.