The factors what increased information technology usage satisfaction of support section personnel In Chiangrai Rajabhat University

Main Article Content

สพัชญ์สนันท์ เทพนัน
ปวีณา ลี้ตระกูล

Abstract

The subject of this independent study was to study the factors what increased information technology usage satisfaction of support section personnel in Chiangrai Rajabhat University and to compare factors what increased information technology usage satisfaction of support section personnel in Chiangrai Rajabhat University separated by gender, age, level of education and major subject, working group, working age, working level and type of job. This independent study also studied about difficulty of information technology usage of support section personnel in Chiangrai Rajabhat University. Researcher collected data from 186 Chiangrai Rajabhat University personnel and tool of this study was questionnaire. This data was collected by researcher. The data was analyzed by computer program by using static methods; frequency, percentage, average, standard deviation and variance analysis.

Article Details

How to Cite
เทพนัน ส., & ลี้ตระกูล ป. (2018). The factors what increased information technology usage satisfaction of support section personnel In Chiangrai Rajabhat University. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University, 5(2), 97–118. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/128132
Section
Research Articles
Author Biographies

สพัชญ์สนันท์ เทพนัน

*บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2554) ปัจจุบันทำงาน บริษัทตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ บริษัท WICE Freight services Thailand Co.,Ltd. 

ปวีณา ลี้ตระกูล

** เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2550) ปัจจุบันเป็นอาจารย์โปรแกรมวิชา บริหารธุรกิจ (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

References

หนังสือ
ชัชวาลย์วงษ์ประเสริฐ. การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์การ. กรุงเทพมหานคร:
ซีเอ็ดยูเคชั่น,2548
ชนวัฒน์ โกญจนวรรณ. การจัดการสารสนเทศสำหรับผู้นำองค์กรและผู้บริหาร,
กรรกมลการพิมพ์กรุงเทพมหานคร,2550
ทศพร เบ็ญจพงษ์และคณะ. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์.
กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด พิมพ์อักษร,2546
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Management
Information systems สถาบันบัณฑิตพัฒนศาสตร์,พิมพ์ที่ เอส แอนด์ จี
กราฟฟิค, 2545
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร:วี อินเตอร์พริ้นท์, 2548
นพวรรณ คงเทพ. ปัจจัยและความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรใน
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเขตกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยรามคำแหง,
2549
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี,
2544.
พิมลจรรย์ นามวัฒน์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร เล่ม 2 สาขาวิชาวิทยาการ
จัดการมาหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542
ไพบูลย์ เกียรติโกมลและคณะ.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (ฉบับปรับปรุงใหม่).
กรุงเทพมหานคร:ซีเอ็ดยูเคชั่น,2551
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. เอกสารการสอนชุดวิชา
องค์การและการจัดการหน่วยที่ 9-15.พิมพ์ครั้งที่32.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยฯ,
2544.
ลัลยุทธ์ สว่างวรรณ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพมหานคร: เพียร์สันเอ็ด
ดูเคชั่น, อินโดไชน่า,2545
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร
:นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์,2546.
สมยศ นาวีการ. การบริหารและพฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพมหานคร : ดอกหญ้า,2545สมเดช มุงเมือง. มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ.พิมพ์ครั้งที่ 1 สยามโฆษณาและการพิมพ์.
เชียงราย ,2544
สมเดช มุงเมือง. จิตวิทยาธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่3. เชียงราย : สยามโฆษณาและการพิมพ์,
2545.
______________. พฤติกรรมองค์กร. เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2549.
______________. การจัดการและพฤติกรรมองค์กร. เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย, 2550
สุณิสา ศิลปะศร. การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ กรณีศึกษา
สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา. กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ เสนอต่อ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัญฑิต (รัฐศาสตร์),
2543
สุนีย์ ชุณหะ. ปัจจัยที่เพิ่มความพึงพอใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงาน
ธนาคารพาณิชย์ ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร.การค้นคว้าแบบอิสระ
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2547
เสน่ห์ พิพิธธภัณฑ์. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร กรมทางหลวง
สำนักงานทางหลวงที่1 (เชียงใหม่). วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2544
เสนีย์ นันทยานนท์. ความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทย
จำกัด (มหาชน) ในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เชียงใหม่; 2543
เว็บไซต์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. กองบริหารงานบุคคล.ข้อมูลจำนวนบุคลากรมหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงราย ณ เดือน มีนาคม 2553.(ออนไลน์).แหล่งที่มา :http://
personnel.cru.in.th/index.php