A Consumer Perception on the Car Tyre Brands in Maesai District, Chiang Rai Province

Main Article Content

พรเพ็ญ ประถมพนากุล

Abstract

The purposes of this independent study were to study the consumers’ knowledge of the car tyre on the car tyre brands and to study the consumer perception on the car tyre brands in Maesai District, Chiang Rai Province and to compare the level of the consumer perception on the car tyre brands in Maesai District, Chiang Rai Province. The sample in this study consisted of 400 people who had cars in Maesai District, Chiang Rai Province . The research instrument drawn for this study was a series 30 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2554) of questionnaire made by the researcher and systematically analyzed by using Frequency, Percentage, Mean : , Standard Deviation: S.D., t-test, One-way Analysis of Variance : ANOVA and Coefficient of Correlation. The result of the study of the consumers’ knowledge of the car tyre in Maesai District, Chiang Rai Province appeared that most of the customers had the correct knowledge of the car tyre at the high level. The overall variables of the customers’ knowledge of the car tyre on the quality of the product, the reliability of the brand , the impression of the brand and the brand strength were positively correlated with knowledge of the car tyre at the statistical significance level of .05.

Article Details

How to Cite
ประถมพนากุล พ. (2018). A Consumer Perception on the Car Tyre Brands in Maesai District, Chiang Rai Province. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University, 6(2), 28–46. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/127321
Section
Research Articles
Author Biography

พรเพ็ญ ประถมพนากุล

 * บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่อง การรับรู้ของผบู้ ริโภคที่มีต่อตราสินคา้ ประเภทยางรถยนต ์ในเขตอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ของพรเพ็ญ ประถมพนากุล โดยมี ผูช้วยศาสตราจารย ์ ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ** นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

References

กฤษติกา คงสมพงษ์. (2547). กลยุทธ์สำหรับการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ : พิมพลักษณ์. บริษัท อินโฟไทย จำกัด.(2544). การศึกษาความพึงพอใจของลูกค้ายางรถยนต์ ร้านพงศ์โชตนาการยาง จังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ : บริษัท สยามมิชลิน มาร์เก็ตติ้ ง แอนด์เซลส์ จำกัด. บริษัท สยามมิชลิน จำกัด. “ส่วนแบ่งทางการตลาดในตลาดยางรถยนต์ในประเทศปี 2553” แวดวงยางรถยนต์ (มกราคม 2553) : 23 ธรรมศาสตร์. วงหทัย ตันชีวะวงศ์.(2548). การบริหารตราสินค้าไทยด้วยกลยุทธ์ Brand Portfolio. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท. วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2549). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ศิรประภา ไพรินทร์.(2550). กระบวนการตัดสินใจซื้อยางรถยนต์นั่งส่วนบุคคลของ ผู้บริโภคใน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ) เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อดุลย์ จาตุรงคกุล และคณะ.(2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เว็บไซต์ ก้องเกียรติ ทีฆมงคล. สื่อเทคโนโลยียนตรกรรมไร้ขีดจำกัด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaidriver.com/2010/Totalnews.php?id=1299. 2554. เชน ฦาไชย. มิชลินรับรางวัล Excellent Supplier Award 2010. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.michelin.co.th.2554. โนบุยุกิ ทะมุระ. บริดจสโตนประสบผลสำเร็จครองใจผู้บริโภค. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www. Motortrivia.com/section-bizzes-news-05/814- bridgestone-aqa/bridgestone-TAQA.html. 2554. บริษัท บริดจสโตน จำกัด. ศักยภาพด้านการบริการ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www. bridgestone. co.th/th/bridgestone_corporate/philosophy_ service.aspx. 2554.