Building of the Tourism Marketing Strategy: Case Study of Tour Operating Business, Thailand-Laos Friendship Bridge, Nong Khai Province

Main Article Content

พลอยนภัส สุทธิภัทรานนท์
ภิเษก ชัยนิรันดร์

Abstract

The objectives of this study are to analyze tourist patterns, formulate SWOT analysis, study the requirement of tourists and stipulate marketing strategies in order to encourage tourism in the area of Thailand-Laos Friendship Bridge, Nongkhai Province. The questionnaire is used to collect data with four hundred tourists and five tour businesses, respectively. Statistics used to analyze the data consist of percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-Way ANOVA, and Chi-Square. The researcher can use the results of this study to prepare marketing mix (7 P’s) strategies. Product strategy is to create a travelling package for women, a package for family home stay, and a package for self-management. Price strategy is to create a medium-priced package. Place strategy is to sell travelling packages via internet, including corporate web site and online community. Promotion strategy is to create a package matching with target groups that mostly are 35-44 year and 25-34 year. Personnel strategy is to train responsive skills for staffs in order to satisfy customers’ requirements. Physical evidence strategy is to create the whole quality in leading values. And process strategy is to develop organizational structure to meet standards and achieve the targets.

Article Details

How to Cite
สุทธิภัทรานนท์ พ., & ชัยนิรันดร์ ภ. (2018). Building of the Tourism Marketing Strategy: Case Study of Tour Operating Business, Thailand-Laos Friendship Bridge, Nong Khai Province. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University, 10(2), 1–14. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/127009
Section
Research Articles
Author Biographies

พลอยนภัส สุทธิภัทรานนท์

 *นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย (2557) **บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2549), ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย

ภิเษก ชัยนิรันดร์

**บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2549),
ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรมการท่องเที่ยว. (2556). สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยว มกราคม-ธันวาคม 2556. กรุงเทพฯ: กรมการท่องเที่ยว.

การท่องเที่ยวเส้นทางสายไหม จังหวัดนครราชสีมา. (2554).ข้อมูลอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว: อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.nakhonchaiburin.net สืบค้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2554).สถิตินักท่องเที่ยว.(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.tat.or.thสืบค้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554,

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2554).สถิติการท่องเที่ยวระหว่างปี 2541-2550.(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.tourism.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554.

กิตติพันธ์ คงสวัสดิเกียรติและคณะ.(2552).ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.

ฉลองศรีพิมลสมพงศ์. (2544). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2556). ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2556. แหล่งที่มา: http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Thai/report/DocLib_/Annual_Y56_T.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2558

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรสแอนด์ดีไซน์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

สมใจ วงศ์เทียนชัย. (2547).ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวในจุดผ่านแดนไทย-พม่า อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.สารนิพนธ์สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.

สมชาติ กิจยรรยง. (2536). สร้างบริการ สร้างความประทับใจ. กรุงเทพฯ: เดช-เอนการพิมพ์.

สมศักดิ์ ประดิษฐบงกช. (2555). กลยุทธ์การปรับตัวต่อการค้าเสรีในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยวประเภท Outbound ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักบริการข้อมูลและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2552). ข้อมูลเพื่อการค้นคว้า: SWOT ANALYSIS(ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.idis.ru.ac.th สืบค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554.

สำอางค์ งามวิชา. (2543). การบริหารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สุเทพ พันประสิทธิ์ (2547).กลยุทธ์การจัดการเรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดชายแดนไทยและกัมพูชา กรณีศึกษาจังหวัดสระแก้ว บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสระเกษ. รายงานวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เสรีวงษ์มณฑา. (2542).การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค.กรุงเทพฯ: Diamond in business world.

Heizer, Jay H., & Render, B. (1996).Production and Operation Management: Strategic and Tactical. New York : Prentice Hall.

Kotler, Philip. (2003). Marketing Management. 11th Edition, New Jersey: Prentice-Hall.

Kurtz, David L. (2008). Principles of Contemporary Marketing. China: South-Western.

World Tourism Orgamization (2015). Tourism 2020 Vision. Available at http://www. http://www.unwto.org/facts/eng/vision.htm 15 January 2015