Effect of Marketing Mix, Strategic Communication and Customer Satisfaction toward Customer Loyalty of Government Savings Bank in Lampang Province

Main Article Content

โชติกา วงศ์วิราช
บุญฑวรรณ วิงวอน
ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน

Abstract

  The purpose of this research was to study the effect of marketing mix, strategic communication and customer satisfaction toward customer loyalty of Government Savings Bank in Lampang Province. The sampling group was 383 customers from 12 Government Savings Bank branches in Lampang province. It was survey research with questionnaire as research tool and applying descriptive statistics to find percentage, average, standard deviation and inferential statistics to analyze variable correlations by structural equation model with Smart PLS 2.0 M3 program. The outcomes of research revealed that majority of respondents rated satisfaction and customer loyalty toward Government Savings Bank at highest level, rated marketing mix and strategic communication at high level. The outcomes of structural equation model analysis revealed that strategic communication had direct effect toward satisfaction at the highest level and followed by satisfaction had effect toward customer loyalty. Lastly, strategic communication had indirect effect toward customer loyalty at the highest level.

Article Details

How to Cite
วงศ์วิราช โ., วิงวอน บ., & อินต๊ะขัน ไ. (2018). Effect of Marketing Mix, Strategic Communication and Customer Satisfaction toward Customer Loyalty of Government Savings Bank in Lampang Province. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University, 9(1), 120–137. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/126930
Section
Research Articles
Author Biographies

โชติกา วงศ์วิราช

 *นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (2556)

บุญฑวรรณ วิงวอน

** รองศาสตราจารย์ดร. ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์สาขาวิชาการจัดการทั่วไป  หลักสูตรบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิยาลัยราชภัฏลำปาง

ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน

***ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์สาขาวิชาการจัดการทั่วไป หลักสูตรบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

References

จิตตินันท์ นันทไพบูลย์. (2551).จิตวิทยาการบริการ.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. จิราภา สุวรรณพฤกษ์. (2554). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) กรณีศึกษาผู้รับเงินโอนต่างประเทศผ่านระบบ Western Union. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. ธนกฤตา วรรัตน์โภคา. (2553). ผลกระทบของกลยุทธ์การตลาดธุรกิจท่อง เที่ยวส่งเสริมสุขภาพที่มีต่อความจงรักภักดีของลูกค้ากลุ่มเจเนอเรชั่นบี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. ธนาคารออมสิน. (2556). ทิศทาง และนโยบายการดำเนินงาน ปี 2556-2560. [Online] Available:http://www.gsb.or.th/about/img/pdf/annual-report/other/2555/64-65. pdf. ค้นเมื่อ[2556,ธันวาคม 21]. ธนาคารออมสินเขตลำปาง. (2555). จำนวนลูกค้าธนาคารออมสินในเขตจังหวัดลำปาง 12 สาขา ในปี พ.ศ. 2555.ลำปาง :ธนาคารออมสินเขตลำปาง. ธิติภพ ชยธวัช. (2548). แม่ไม้บริหาร.กรุงเทพฯ: ซี.พี. บุ๊คแสตนดาร์ด. ปราชญ์ ได้เปี่ยม. (2554). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการใช้บริการ K-WePlan ของ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในอำเภอเมือง เชียงใหม่. บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2556). 4 ข้อสำคัญหากคิดที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารกับตลาด กลุ่มเป้าหมาย. [Online] Available : http://www.drphot.com/talk/archives/54. [2556, ตุลาคม 15]. รินทิพย์ จันทรธาดา. (2545). ความคิดเห็นของลูกค้าธนาคารออมสินสาขาลำพูนที่มีต่อเงินฝากประเภทสงเคราะห์ ชีวิตและครอบครัว. การค้นคว้าแบบอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิภา สันโดษ. (2554). อุปสงค์ต่อผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตของธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา คณะแพทยศาสตร์ เชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2547). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ : เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
วิสุทธิ์ ดวงอาภัย. (2551). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการใช้บริการด้านสินเชื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศิริวรรณ เสรรีรัตน์และคณะ. (2552).การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ:ธรรมสาร. สิรสา เธียรถาวร. (2555). ความพึงพอใจและพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารออมสินสาขา บ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร. [Online] Available:http://www.smsmba.ru.ac.th/ index_files/NR/Saving%20Bank.pdf.ค้นเมื่อ[2555, ตุลาคม 15]. สุกัญญา พยุงสิน และสุดาพร สาวม่วง. (2553). กลยุทธ์การตลาดของธุรกิจสปาในประเทศไทย. บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. สุภาภัค ชาญณรงค์. (2554). ส่วนประสมทางการตลาดการบริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาชัยภูมิ. หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. Boone, L. E. , & Kurtz, D. L. (1989). Marketing (6th ed.). Marianna,FL: The Dryden. Chaudhuri, A. , & Holbrook, M. B. (2001). The chain of effects from brand trust and brand affect to brand performance: the role of brand loyalty. Journal of Marketing, 65(2) : 81–93 Christian, S. , & Alexander. (2012). Program Smart PLS Version: 2.0.M3. [Online] Available :http://www.smartpls.de. [2012,September 11]. Gamble, P. R. , Stone, M. , & Woodcock, N. (1999). Customer Relationship Management. London : KoganPage. Kotler,P. (2000). Marketing Management. New Jersey:Prentice Hall International. Likert, R. (1970). A Technique for the Measurement of Attitude. In G.F. Summer (Ed). Attitudes measurement. New York : Rand McNally. Millett, J. D. (1954). Management in the Public Service: The Quest for Effective Performance. New York : McGraw-Hill. Yamane, T. (1970). Statistics : An Introductory Analysis. (2nded). Tokyo : John Wetherhill.