การเรียนรู้ผ่านสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์ที่ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแตกต่างกัน ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
นภาวรรณ อาชาเพ็ชร

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนด้านความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ เจตคติและการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องที่เพิ่มขึ้นจากการชมสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์ที่ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแตกต่างกันของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 50 คนคือ กลุ่มแรกเรียนรู้ผ่านเทคนิคการเล่าเรื่องแบบบรรยายปกติ กลุ่ม 2 เรียนรู้ผ่านเทคนิคการเล่าเรื่องแบบบรรยายประกอบการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และกลุ่ม 3 เรียนรู้ผ่านเทคนิคการเล่าเรื่องโดยผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ดำเนินเรื่องเองทั้งหมด เนื้อหาที่ให้เรียนรู้คือ เรื่องหลักการถ่ายภาพบุคคล ผลการวิจัยพบว่านักศึกษามีผลการเรียนด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้แตกต่างกันทางสถิติ (p < .01) และ ผลการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) โดยนักศึกษาที่เรียนรู้ผ่านการใช้สื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์ที่มีเทคนิคการเล่าเรื่องแบบบรรยายประกอบการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญได้คะแนนเพิ่มขึ้นสูงกว่านักศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเทคนิคการเล่าเรื่องแบบบรรยายปกติ และนักศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเทคนิคการเล่าเรื่องโดยผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ดำเนินเรื่องเองทั้งหมด ทั้งนี้นักศึกษาส่วนใหญ่ที่ผ่านการใช้สื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์มีเจตคติที่ดี มีการตอบสนองเชิงบวก และตระหนักในคุณค่าของเนื้อหาที่ได้เรียนรู้

Article Details

How to Cite
ดำรงเกียรติศักดิ์ ว., & อาชาเพ็ชร น. (2018). การเรียนรู้ผ่านสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์ที่ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแตกต่างกัน ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9(2), 114–140. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/126135
บท
บทความวิจัย
Author Biographies

วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์

*Ph.d (Agricultural Communication) The Pennsyvania State University, U.S.A. (2527) ปัจจุบันเป็นรองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

นภาวรรณ อาชาเพ็ชร

** ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยแม่โจ้(2547) ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

References

บริษัทพาโนราม่าเวิล์ดไวด์. (2549). ปฏิบัติการผลิตรายการสารคดี.กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.บุปผชาติทัฬหิกรณ์, สุกรี รอดโพธิ์ทอง, ชัยเลิศ พิชิตพรชัย และโสภาพรรณ แสงศัพท์.(2544). ความรู้เกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา .กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
.ปัณฑิตา บุญญฤทธิ์.(2550).การรับชมรายการสารคดีโทรทัศน์ของชาวกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสื่่อสารมวลชน,มหาวิทยาลัยรามคำแหง.รจิตลักษณ์ แสงอุไร. (2548).การสื่อสารของมนุษย์.กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่.วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์. (2541). แนวความคิดและวิธีการสื่อสารการเกษตร (พิมพ์ครั้งที่10). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.___________________.(2542). สรุปทฤษฎีการสื่อสาร. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.___________________.(2553). การเรียนรู้ผ่านมัลติมีเดีย . สืบค้น 15 ตุลาคม 2553, จาก
http://www.infocommmju.com/icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/Multimedia_learning.pdf.___________________.(2554). การเชื่อใจ ความศรัทธาในการสื่อสาร และการพัฒนาปัญญา. สืบค้น 13ธันวาคม 2554,จากhttp://www.infocommmju.com/icarticle/
images/stories/icarticles/ajwittaya/trust_communication1.pdf.__________________.(2555). การผลิตและสร้างสรรค์สารคดีโทรทัศน์. สืบค้น 15 มีนาคม 2555 , จาก http://www.infocommmju.com/icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/documentary_production-1.pdf. เอกวิทย์ แกวประดิษฐ์. ้ (2545). เทคโนโลยีการศึกษา:หลักการและแนวคิดสู่การปฏิบัติ .สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.สถาบันส่งเสริมอัจฉริยภาพและนวัตกรรมการเรียนรู้. (2551). หลักการเรียนรู้ของสมอง ตามแนวคิด BBL. สืบค้น 23 เมษายน 2551, จาก http://www.igil.or.th/th/bbl-resources/what-is-bbl/basic-bbl-principles.htm lสมประสงค์ เสนารัตน์. (2554).กระบวนการทางการศึกษาและจุดม่งหมายทางการศึกษา ุด้านพทธิพิสัย ุ . สืบค้น 13 ธันวาคม 2554, จากhttp://images.senarat.multiply.multiplycontent.com/attachment/0/TWuBzAooCGwAAG3S0B01/bloom_revised.pdf?key=senarat:journal:100&nmid=418821494 Anderson, L W, and Krathwohl D R. (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching,
and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Longman: New York. Berk, R.A. (2009).Multimedia teaching with video clips: TV, movies, YouTube, and mtvU in the college classroom. InternationalJournalof Technologyin Teaching
and Learning. Bloom, B. S., Englehart, M. B., Furst, E. J., Hill, W. H., & Krathwohl, D. R. (1956). Taxonomy of educational objectives: Handbook on I: Cognitive Domain. New York: David MCkay. DevittPG,Plamer E. (1999). Computer-aided learning: An overvalued educational resource? Med. Educ. Dwyer , F.M. 1978. Strategies For Inproving Visualized Learning. State College LearningServices. Fisher,Walter R. (1987). Human Communication as Narration: toward a Philosophy of Reason, Value and Action. Columbia: University ofSouth Carolina. Gazzaniga, M.S. (1992). Nature’s Mind. NY: Basic Books. Goleman, D. (1998). Working with emotional intelligence. NY: Bantam Books. Hadley J, Kulier R, Zamora J, Coppus SF, Weinbrenner S, et al. (2010). Effectiveness
of an e-learning course in evidence-based medicine for foundation (internship) training. J R Soc Med. Hebert,S.,&Peretz, I. (1997).Recognition of music in long-term memory: Are melodic and temporal patterns equal partners? Memory and Cognition.
HudsonJN. (2004). Computer-aided learning in the real world of medical education:Does the quality of interaction with the computer affect student learning? Med. Educ. Karakas E, TekindalS. (2008). The effects of computer-assisted learning in teaching
permanent magnet synchronous motors. IEEE. Trans. Educ. Mayer, R.E. (2006). Ten Principles of Multimedia Learning. Retrieved March 15, 2014, from http://ericsnewblog.blogspot.com/ ___________________. (2014).12 Principles of Multimedia Learning. RetrievedMarch 15, 2014, from http://hartford.edu/academics/faculty/fcld/data/documentation/technology/presentation/powerpoint/12_principles_multimedia.pdf. Moneta, G.B. and Moneta,S.S. (2007). Affective Learning in online Multimedia and
Lecture Versions of an Introductory Computing Course. Educational Psychology, 27 (1),51-74. NazirM.J., Rizvi A.h.,and Pujeri R.V. (2012).Skill Development in Multimedia Based Learning Environment in Higher Education: An Operational Model. International Journal of Information and Communication Technology Research. 2 (11). North, A.C. & Hargreaves, D.J. (1997). Liking, arousal potential, and the emotional expressed by music.Scandinavian Journal ofPsychiatry. Renate Nummela Caine and Geoffrey Caine. 1992. 12 Principles for Brain-Based Learning. Retrieved December 13, 2011, from http://www.nea.org/eachexperience/braik030925.html. Selwyn. (2007). The use of computer technology in university teaching and learning: a critical perspective. J. Comp. Assist. Learn. Smart KL, Cappel JJ. (2006).Students perceptions of online learning: A comparative study. JTE. TheuriP.M., Greer B.M., Turner, L.D. (2011). The Efficacies of Utilizing a Multimedia, Based Instructional Supplement on Learners’ Cognitive Skills. The
Accounting Educators’ Journal, (21),107-129. Waterhouse, L. (2006a).Inadequate evidence for multiple intelligences, Mozart effect, and emotional intelligence theories. EducationalPsychologist. ___________________. (2006b). Multiple intelligences, the Mozart effect, and emotional intelligences: A critical review. EducationalPsychologist. WoffordMM,Spickard AW,WoffordJL. (2001). The computer-based lecture. J. Gen. Int. Med.