อิทธิพลทางตรงและผลรวมของส่วนประสมทางการตลาด (4P) ที่มีต่อการซื้ออาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับนกปรอดหัวโขนเคราแดง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทั่วไปของผู้ซื้ออาหารเม็ดสำเร็จรูปนกปรอดหัวโขนเคราแดงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ (2) อิทธิพลของผลิตภัณฑ์ การจัดจำหน่าย การกำหนดราคา และการส่งเสริมการตลาดที่มีต่อการซื้ออาหารเม็ดสำเร็จรูปนกปรอดหัวโขนเคราแดง ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสม เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ แนวทางเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากผู้ซื้ออาหารเม็ดสำเร็จรูปนกปรอดหัวโขนเคราแดงในพื้นที่กรุงเทพ มหานครจำนวน 217 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง เชิงคุณภาพเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึก สนทนากลุ่ม บันทึกสนาม และบันทึกความจำจากผู้ซื้ออาหารเม็ดสำเร็จรูปนกปรอดหัวโขนเคราแดงจำนวน 23 ราย ผลการวิจัยพบว่า ราคามีอิทธิพลทางตรงต่อการซื้ออาหารเม็ดสำเร็จรูปนกปรอดหัวโขนเคราแดงมากที่สุด ขณะที่ผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลรวมต่อการซื้ออาหารเม็ดสำเร็จ รูปนกปรอดหัวโขนเคราแดงมากที่สุด
Downloads
Article Details
References
ราชกิจจานุเบกษา. (2546). กฎกระทรวงกำหนดชนิดสัตว์ป่าคุ้มครองให้เป็นสัตว์ป่าชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ พ.ศ. 2546. ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกาเล่ม 120 ตอนที่ 59ก.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2558). การสร้างมาตรวัดสำหรับการวิจัยที่ถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: สามลดา.
_________________. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ : สามลดา.
_________________. (2554). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพยุคใหม่. กรุงเทพฯ : สามลดา.
สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และกรรณิการ์ สุขเกษม. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ: การวิจัยปัญหาปัจจุบันและการวิจัยอนาคตกาล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สามลดา.
สำนักงานมาตรฐานการวิจัยในคน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2559). การวิจัยและหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์. ค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2561, จาก
www.ohrs.nrct.go.th/lms/upload/course1/lesson2/lessonp df/Chapter2_Basic%20principle.pdf
Ataman, M. B., Van Heerde, H. J., & Mela, C. F. (2010). The long-term effect of marketing strategy on brand sales. Journal of Marketing Research, 47(5), 866-882.
Blair, J., & F.G. Conrad. (2011). Sample size for cognitive interview pretesting. Public Opin. Q., 75(4), 636–658.
Borden, N.H. (1984). The Concept of the Marketing Mix. Journal of Advertising Research, 2, 7-13.
Burns, K. N. (2009). Dietary diversity in fruit-eating birds: a biogeographic comparison between New Zealand and Canada. New Zealand Journal of Ecology, 33(1), 52-59.
Chicksand, D. (2012). Theoretical perspectives in purchasing and supply chain management: an analysis of the literature. Supply Chain Management, 17(4), 454-472.
Creswell, J. W. (2014). Research and design: Qualitative, quantitative and mixed methods approaches. 4th ed. New Delhi: Thousand Oaks Press.
Epple, J., Bischoff, S., & Aier, S. (2015). Management objectives and design principles for the cost allocation of business intelligence. Retrieved March 19, 2018, from http s://www.alexandria.unis g.ch/243531/1/Epple.ea.2015-BI%2520Cost%2520Allocation_Management%2520Objectives%2 520and%2520%2520Design%2520Principles.pdf
Gronroos, C. (1994). From Marketing mix to relationship marketing : Towards a paradigm shift in Marketing. Management Decision, 32(2), 4-20.
Guerreiro, R. (2018). Cost-based price and value-based price: are they conflicting approaches?. Journal of Business & Industrial Marketing, 33(3), 390-404.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Journal of Educational and Psychological Mearsurement, 30, 607-610.
Palinkas, L. A., Horwitz, S. M., Green, C. A., Wisdom, J. P., Duan, N. & Hoagwood, K. (2015). Purposeful sampling for qualitative data collection and analysis in mixed method implementation research. Adm Policy Ment Health, 42(5), 533–544.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple-item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of Retailing, 64(1), 12-40.
Yong, A. G., & Pearce, S. (2013). A beginner’s guide to factor analysis: Focusing on exploratory factor analysis. Tutorials in Quantitative Methods for Psychology, 9(2), 79-94.