ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ในจังหวัดสมุทรปราการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ พนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิธีทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) โดยใช้วิธีในการเลือกตัวแปรโดยวิธีลดตัวแปร(Backward Elimination) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 พบว่าปัจจัยความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ความมั่นคงในงาน การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน และนโยบาย กฎ ข้อบังคับ และขั้นตอนต่างๆในการทำงานเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ในจังหวัดสมุทรปราการ ผลที่ได้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาพนักงานให้เกิดความผูกพันในองค์กรมากยิ่งขึ้น
Downloads
Article Details
References
จันจีรา โสะประจิน. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงานของพนักงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์: กรณีศึกษา บริษัท ยานภัณฑ์ จำกัด[มหาชน]. วิทยานิพนธ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพมหานคร.
ชาญวุฒิ บุญชม. (2553). ความผูกพันต่อองค์การ: ศึกษาเฉพาะกรณีบุคลากรโรงเรียนอิสลามสันติชน. วิทยานิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
ชนิดา เล็บครุฑ. (2554). ผลกระทบของคุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. งานวิจัย คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
ฐิติมา หลักทอง. (2557). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท ผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์ สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
พิทยา โภคา. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติก จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี, ชลบุรี.
พรทิพย์ ไชยฤกษ์. (2555). ความผูกพันต่อองคก์รและพฤติกรรมเชิงสร้างสรรคข์องบุคลากร สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน). วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา.
วรรณา ยงพิศาลภพ. (2560). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรมปี 2560-2562: อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์. วิจัยกรุงศรี, 1-6.
วราภรณ์ นาควิลัย. (2553). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลาออกของพนักงานบริษัท GGG (ประเทศไทย) จำกัด. การค้นคว้าด้วยตนเอง สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, กรุงเทพมหานคร.
สุนันทา มิ่งเจริญพร. (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับผลการดำเนินงานขององค์การของธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่. วารสารวิทยบริการ, กรุงเทพมหานคร.
ศุภชัย รุ่งเจริญสุขศรี. (2558). ความผูกพันในองค์กร การพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ และความพึงพอใจใน สวัสดิการพนักงาน ส่งผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานระดับปฏิบัติการของบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพมหานคร.
อาทิตย์ คำวิจารณ์ และวไลภรณ์ วรรณสังข์. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์. คณะบริหารธุรกิจและการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, กรุงเทพมหานคร.
Best, J. W. (1977). Research in Education. (3 rd ed). New Jersey: Prentice hall Inc.
Herzberg, F. (1959). The Motivation to Work. (with Mausner, B. and Snyderman, B.), Wiley, New York.
Mowday, R.T., L.W. Porter, and R.M. Steers. (1982). Employee–Organization Linkages: The psychology of
Commitment, Absenteeism and Turnover. New York: Academic Press.
Steers, R.M. 1977. Antecedents and Outcomes of Organizational Commitment. Administrative Science
Quarterly. 22(March 1977): 46-56.
Yamane, Taro.1973. Statistics: An Introductory Analysis. Third edition. New York: Harper and Row Publication.